ประวัติความเป็นมาและความคาดหวังด้านความร่วมมือระหว่างโรงพยาบาลหลงหัวและคลินิกการแพทย์แผนจีนหัวเฉียว
Main Article Content
บทคัดย่อ
ประวัติศาสตร์ความเป็นมาของศาสตร์การแพทย์แผนจีนในประเทศไทยมีมายาวนานและเป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวางในสังคม อีกทั้งประเทศไทยยังเป็นประเทศแรกในการที่นำศาสตร์การแพทย์แผนจีนเข้าไปผสมผสานในการรักษาอย่างสมบูรณ์นอกเหนือจากประเทศจีน ในฐานะที่ต่างก็เป็นตัวแทนที่โดดเด่นในอุตสาหกรรมทางการแพทย์แผนจีนทั้งประเทศไทยและประเทศจีน โรงพยาบาลหลงหัวและคลินิกการแพทย์แผนจีนหัวเฉียวจึงได้สร้างความสัมพันธ์ทำความร่วมมือร่วมกันมาแต่ช้านานแล้ว ในบทความนี้ได้ทบทวนวิวัฒนาการประวัติศาสตร์การแพทย์แผนจีนในประเทศไทยและประวัติความร่วมมือระหว่างโรงพยาบาลหลงหัวและคลินิกการแพทย์แผนจีนหัวเฉียว โดยได้เสนอถึงความร่วมมือระหว่างโรงพยาบาลหลงหัวและคลินิกการแพทย์แผนจีนหัวเฉียวที่มีค่อนข้างจำกัด มีข้อจำกัดมากมายด้านเงินทุน ความจำเป็นที่จะต้องสร้างความเข้มแข็งให้กับทีมงานเพื่อการพัฒนาศาสตร์การแพทย์แผนจีนระหว่างประเทศ ความจำเป็นในการเสริมสร้างพลังทางสังคมในกระบวนการความร่วมมือ และปัญหาในการพัฒนางานที่ได้รับผลกระทบ จากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา สำหรับความคาดหวังในอนาคตของความร่วมมือจะต้องทำการแสวงหาแหล่งเงินทุนให้หลากหลาย คิดค้นรูปแบบการพัฒนาใหม่ๆ ปลูกฝังการพัฒนาบุคลากรด้านการแพทย์แผนจีนสู่ระดับสากลอย่างแข็งขัน แสวงหาความร่วมมือกับพลังทางสังคม ใช้อิทธิพลจากชาวจีนโพ้นทะเลในประเทศไทยอย่างเต็มที่ และสร้างระบบข้อมูลให้สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น เพื่อรับรองงานที่จะดำเนินการต่อไปในอนาคต
Article Details
References
National Administration of Traditional Chinese Medicine (CHN). Development plan of traditional Chinese medicine under the background of "One Belt One Road" (year 2016-2020) [Internet]. 2017. Available from: http://www.satcm.gov.cn/bangongshi/gongzuo-dongtai/2018-03-24/1330 html (in Chinese)
Wang YH. The spread and development of Chinese medicine in Thailand and the establishment of traditional Chinese medicine hospitals. Hua-xia Medicine. 2005;(6):494-5. (in Chinese)
Feng LH. The exchange of traditional Chinese medicine between China and Thailand before the Qing Dynasty. Southeast Asian Aff. 2004;(4):120. (in Chinese)
Ge ZHL. China-Thai cultural exchanges before 1949. Xinxiang Henan, China: Henan people; 1987. (in Chinese)
Ye T. Thailand Local customs and practices. Bangkok, Thailand: Da Tong; 2001. (in Chinese)
Liu ZL. Introduction to Traditional Chinese Medicine in Thailand. YUTCM. 2007;30(6): 49-51. (in Chinese)
Thailand legalizes traditional Chinese
medicine. Shizhen Medicine and Materia Medica Research. 2000;10(8):727. (in Chinese)
Hu YR, Zhu M, Yan XX , et al. Chinese medicine transmission and development through overseas Chinese Medicine Center under “Belt and Road” Initiatives. World Science and Technology – Modernization of Traditional Chinese Medicine and Materia Medica. 2017;19(6):1012-5. (in Chinese)
Li MJ. Opportunities, challenges and counter
-measures for the international dissemination of traditional Chinese medicine culture under the background of the "One Belt, One Road" strategy. Academic Forum. 2016;(4):130-4. (in Chinese)
Song XY, Li J, Zheng LY, et al. A Country Study on the Overseas Development of Traditional Chinese Medicine - Volume of Asia. Shanghai: Shanghai Science & Technology; 2019. (in Chinese)
Wang LY, Fang HJ, Ma GQ. Preliminary exploration on the path of accelerating the cultivation of international talents of traditional Chinese medicine. Tradit Chin Med Manag. 2016;24(22):6-10. (in Chinese)