การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนทรศัพท์มือถือเพื่อลดความเสี่ยงด้านการยศาสตร์ในกลุ่มผู้ประกอบอาชีพประมงพื้นบ้าน

Main Article Content

เกวรินทร์ นิติกรณ์
ปวีณา มีประดิษฐ์
ทนงศักดิ์ ยิ่งรัตนสุข
พิจิตรา ปฏิพัตร

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาโปรแกรมที่สามารถประเมินความเสี่ยงและระบุแนวทางในการลดความเสี่ยงด้านการยศาสตร์ และยังเป็นแนวทางการแก้ไขที่เข้ากับยุคสมัยปัจจุบัน โดยทำการศึกษาในกลุ่มผู้ประกอบอาชีพชาวประมงพื้นบ้านจำนวน 29 คน เพื่อให้ทดลองใช้งาน และติดตามผลความรู้สึกปวดเป็นระยะ เวลา 12 สัปดาห์ ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีระดับความรู้สึกปวดบริเวณหลังส่วนบน หลังส่วนล่าง บ่า/ไหล่ ข้อศอก/แขน และมือ/ข้อมือลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) และการประเมินความพึงพอใจหลังการใช้งานโปรแกรมมีประกอบโดยรวมอยู่ในระดับมีความพึงพอใจมาก และมากที่สุด ทั้งในด้านของความง่ายต่อการใช้งานระบบ ด้านการทำงานของฟังก์ชัน และมีความตรงต่อความต้องการของผู้ใช้ระบบ ดังนั้นโปรแกรมประยุกต์นี้จึงมีประโยชน์ในการนำไปใช้เพื่อลดความเสี่ยงด้านการยศาสตร์สำหรับผู้ประกอบอาชีพชาวประมงต่อไป

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

จิตตาภรณ์ มงคลแก่นทราย, ศิริลักษณ์ วีรสกุล, วรัญญา เหลบควบเคี่ยม และพุทธชาติ ดำชัยโย. (2561). การเปรียบเทียบความรู้ และพฤติกรรมในการป้องกันการบาดเจ็บของระบบโครงร่างและกล้ามเนื้อในชาวประมงไทยและพม่า กรณีศึกษา: แพปลาแห่งหนึ่ง อำเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช. วารสารกรมควบคุมโรค, 44(3), 249-257.

ปิยาภรณ์ เพ็ญประไพ, วีระพร ศุทธากรณ์ และธานี แก้วธรรมานุกูล. (2560). ผลของการจัดกระทำด้านการยศาสตร์ต่อความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อ และอาการปวดหลังของคนทำงานแกะสลักไม้. พยาบาลสาร, 44(3), 77-89.

ศิโรรัตน์ มลัยจันทร์, ปวีณา มีประดิษฐ์ และทนงศักดิ์ ยิ่งรัตนสุข. (2560 มีนาคม, 3). การประเมินความเสี่ยงด้านการยศาสตร์ของงานสาวอวนในกลุ่มชาวประมงพื้นบ้าน เขตเทศบาลนครแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี [Paper]. ประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 12 ภายใต้หัวข้อ “Health and Wellness : สุขภาพและความสบาย”, มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

สุกัญญา อังศิริกุล, น้ำอ้อย ภักดีวงศ์ และวารินทร์ บินโฮเซ็น. (2559). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพในผู้ป่วยที่มีอาการปวดหลังส่วนล่าง. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 24(1), 39-50.

สถาบันส่งเสริมความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน. (2558). โรคหรืออาการไม่สบายทางระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ. www.tosh.or.th

สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม. 2563. การมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2563. https://www.nso.go.th/nsoweb/nso/survey_detail/ jJ?set_lang=th

อนันต์ชัย อู่คล้าย. (2557). การพัฒนาโปรแกรมประเมินภาระงานทางการยศาสตร์บนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยศิลปากร.

Best, J. W. (1970). Research in Education. Prentice-Hall. https://journals.sagepub.com/doi/abs/ 10.3102/00028312008004679

El-Saadawy., M. E.-S., Soliman, N. E.-L., Mohammadi, I., El-Tayeb, M., & Hammouda, M. A. (2014). Some occupational health hazards among fishermen in Alexandria city. Gaziantep Medical Journal, 20(1), 71-78.

Haefeli, M., & Elfering, A. (2005). Pain assessment. European Spine Journal, 15, 17-24. https://doi.org/10.1007/s00586-005-1044-x

ILO., & IEA. (2012). Ergonomic Checkpoints in Agriculture. Magheross Graphics. https://www.ilo.org/wcmsp5/groups/public/---ed_protect/---protrav/---safework/documents/ instructionalmaterial/wcms_176923.pdf

Jaeschke, A., & Saldanha, M. C. W. (2012). Physical demands during the hauling of fishing nets for artisan fishing using rafts in beach of Ponta Negra. Natal-Brasil. Work, 41(1), 414-421. https://doi.org/10.3233/WOR-2012-0191-414

Kucera, K. L., & Lipscomb, H. J. (2010). Assessment of physical risk factors for the shoulder using the Posture, Activity, Tools, and Handling (PATH) method in small-scale commercial crab pot fishing. Journal of Agromedicine, 15(4), 394-404. https://doi.org/10.1080/1059924x.2010.511967

Kuorinka, I., Jonsson, B., Kilbom, A., Vinterberg, H., Biering-Sorensen, F., Andersson, G., & Jorgensen, K. (1987). Standardised Nordic questionnaires for the analysis of musculoskeletal symptoms. Applied Ergonomics, 18, 233-237.

Lemeshow, S., Jr, D. W. H., Klar, J., & Lwanga, a. S. K. (1990). Adequacy of Sample size in Health Studies: World Health Organization.

Sholihah, Q., Hanafi, A. S., Bachri, A. A., & Fauzia, R. (2016). Ergonomics Awareness as Efforts to Increase Knowledge and Prevention of Musculoskeletal Disorders on Fisherman. Aqua Procedia, 7(2), 187-194.

Silvetti, A., Munafo, E., Ranavolo, A., Iavicoli, S., & Draicchio, F. (2017). Ergonomic risk assessment of sea fishermen part I: Manual material handling. Advances in Intelligent Systems and Computing, 487, 325-332. https://doi.org/10.1007/978-3-319-41688-5_29

Widyanti, A. (2018). Ergonomic Checkpoint in Agriculture, Postural Analysis, and Prevalence of Work Musculoskeletal Symptoms among Indonesian Farmers: Road to Safety and Health in Agriculture. Jurnal Teknik Industri, 20, 1-10.

Yusuff, R. M., Daud, R. M., & Zulkifli, N. (2008). Identification of Ergonomics Risk Factors in the Fishery Industry. The 9th Southeast Asian Ergonomics Society Conference (SEAES 2008) (pp. 1-8).