รายงานผู้ป่วยสูญเสียกระดูกขาจากอุบัติเหตุการทำงานกับรถสีข้าว จังหวัดหนองบัวลำภู
Main Article Content
บทคัดย่อ
เครื่องจักรทางการเกษตรเป็นสิ่งประดิษฐ์ที่ทำให้ เกษตรกรทำงานได้อย่างสะดวกรวดเร็ว ช่วยเพิ่มผลผลิต และลดการใช้กำลังคน ปัจจุบันเกษตรกรในประเทศไทย นิยมใช้เครื่องจักรเหล่านี้เพื่อช่วยในการทำงานเพาะปลูกมาก ขึ้น อย่างไรก็ตาม การทำงานกับเครื่องจักรทางการเกษตร สามารถทำให้เกิดอุบัติเหตุรุนแรงได้เช่นเดียวกับเครื่องจักร ในโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งอาจทำให้เกิดภาวะทุพพลภาพหรือ ถึงแก่ชีวิตตามมา รายงานผู้ป่วยฉบับนี้ เป็นรายงานผู้ป่วย เพศชาย อายุ 17 ปี ที่ได้รับอุบัติเหตุจากการทำงานกับรถสีข้าว ให้กับครอบครัวในจังหวัดหนองบัวลำภู ผลจากอุบัติเหตุ ทำให้ผู้ป่วยสูญเสียกระดูกขาส่วนล่าง กล้ามเนื้อและเส้นเอ็น บางส่วน จนเกิดเป็นภาวะทุพพลภาพถาวรขึ้น
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
Journal of Safety and Health is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) licence, unless otherwise stated.
References
เจษฎา อุดมกิจมงคล (2554) รายงานการศึกษา อุตสาหกรรม เครื่องจักรกลการเกษตร (Agricultural Machinery). กรุงเทพมหานคร: สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม.
ดวงฤดี โชติกลาง (2555) กรณีศึกษา: อุบัติเหตุจากรถสีข้าว อ.น้ำพอง จ.ขอนแก่น บรรยายในงานประชุมวิชาการ เชิงปฏิบัติการพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังสอบสวน โรคและภัยจากสิ่งแวดล้อมและสารเคมีอันตราย. จัดโดยสำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรคกระทรวง สาธารณสุข. วันที่ 16 มีนาคม 2555; กาญจนบุรี.
สมควร สีปวน และธนพนธ์ ธิสงค์ (2554) รายงานการศึกษา ผลการประเมินโครงสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ ปีงบประมาณ 2554 สำนักงานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษา. ศรีสะเกษ: วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี ศรีสะเกษ.
สำนักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน (2555) รายงาน ประจำปี 2554 กองทุนเงินทดแทน. นนทบุรี: สำนักงาน ประกันสังคม กระทรวงแรงงาน.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร (2554) การสำรวจแรงงานนอกระบบ พ.ศ. 2554. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานสถิติแห่งชาติ
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. หนังสือพิมพ์แนวหน้า (2555, พฤศจิกายน) สสจ.น่านเตือน ระวังอุบัติเหตุเครื่องนวดสีข้าว. เข้าถึงเมื่อ 9 ธันวาคม 2555. ที่มา http://www.naewna.com/local/3 1335.
Leigh, J.P., McCurdy, S.A., Schenker, M.B. (2001). Costs of occupational injuries in agriculture. Public Health Report. 116 (3), 235 - 48.
McCurdy, S.A., Kwan, J.A. (2012). Agricultural injury risk among rural California public high school students: prospective results. American Journal of Industrial Medicine. 55 (7), 631 - 42.
Pickett, W., Hartling, L., Brison, R.J., Guernsey, J.R. (1999). Fatal work-related farm injuries in Canada, 1991 - 1995. Canadian Agricultural Injury Surveillance Program. Canada Medical Association Journal. 160 (13), 1843 - 8.
Prasanna, K.G.V., Dewangan, K.N. (2009). Agricultural accidents in north eastern region of India. Safety Scince. 47 (2), 199 - 205.
Rautiainen, R.H., Reynolds, S.J. (2002). Mortality and morbidity in agriculture in the United States. Journal of Agricultural Safety and Health. 8 (3), 259 - 76.
Runyan, J.L. (1993). A review of farm accident data sources and research: review of recently published and current research. Bibliographies and literature of agriculture. 125, 1 - 4.
Wright, S., Marlenga, B., Lee, B.C. (2013). Childhood agricultural injuries: an update for clinicians. Current Problems in Pediatric and Adolescent Health Care. 43 (2), 20 – 44.