ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพการส่งต่อที่ไร้รอยต่อในเขตเมืองกรุงเทพมหานคร

ผู้แต่ง

  • สิรินรักษ์ ไชยสมบูรณ์ กองการพยาบาลสาธารณสุข สำนักอนามัย จังหวัดกรุงเทพมหานคร
  • รักชนก คชไกร กองการพยาบาลสาธารณสุข สำนักอนามัย จังหวัดกรุงเทพมหานคร
  • เวหา เกษมสุข กองการพยาบาลสาธารณสุข สำนักอนามัย จังหวัดกรุงเทพมหานคร

คำสำคัญ:

ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์, คุณภาพระบบส่งต่อที่ไร้รอยต่อ, ระบบส่งต่อ

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพื่อหาความสัมพันธ์ (Correlational research) ศึกษาปัจจัย ที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพการส่งต่อที่ไร้รอยต่อในเขตเมือง ทำการศึกษาในกลุ่มตัวอย่างพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหน่วย เยี่ยมบ้านศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร เก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสารแบบสอบถาม นำมาวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติวิเคราะห์โดยการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ของแผนการจำหน่าย เครือข่ายด้านข้อมูล เครือข่ายด้านการประสานงาน และคุณภาพของการส่งต่อที่ไร้รอยต่อในเขตเมือง กรุงเทพมหานคร โดยใช้สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient)
ผลวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของเพียร์สันพบว่า ปัจจัยแผนการจำหน่ายมีความสัมพันธ์ทางบวกกับผลลัพธ์การส่งต่อที่ไร้ รอยต่อของกลุ่มตัวอย่าง ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = .651, p < .001) และปัจจัยเครือข่ายด้านข้อมูลมีความสัมพันธ์ทาง บวกกับผลลัพธ์การส่งต่อที่ไร้รอยต่อของกลุ่มตัวอย่าง ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = .518, p < .001) และปัจจัยเครือข่าย ด้านการประสานงานมีความสัมพันธ์ทางบวกกับผลลัพธ์การส่งต่อที่ไร้รอยต่อของกลุ่มตัวอย่าง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = .514, p < .001)

Downloads

References

Ministry of Public Health. Service plan B.E. 2018-2022. Nonthaburi: Bureau of Health Administration, Ministry of Public Health; 2017. (in Thai)

Sahunphun P. The process of referral system between hospitals. Hua Hin Sook Jai Klai Kangwon Journal. 2019; 4(1): 51-62. (in Thai)

World Health Organization. Referral systems-a summary of key processes to guide health services managers. Geneva: WHO; 2005.

Thangkratok P. Patient Referral Systems: key processes of health services management. J Med Health Sci, Department of Preventive and Social Medicine, Faculty of Medicine, Chulalongkorn University; 2018. (in Thai)

Public Health Nursing Division. BMA Home Ward Referral Center. Bangkok: Public Health Nursing Division, Department of Health; 2020. (in Thai)

Public Health Nursing Division. BMA Home Ward Referral Center. Bangkok: Public Health Nursing Division, Department of Health; 2017. (in Thai)

Donabedian A. Evaluation the Quality of Medical Care. The Milbank Quaterly. 2005; 83(4): 691-729.

Prayooltem R, Vongwisanupong N, & Songwathana P. Improvement of Discharge Planning and Continuing Care for Vascular Surgery Patients: A Case Study. Journal of Thailand Nursing and midwifery Council. 2019; 34(2): 5-17. (in Thai)

Md Abu B, Sudip B, Shailesh T, Neha S & Amarjeet S. Strengthening primary health care through e referral system. Journal of Family Medicine and Primary Care. 2019; 8(4): 1511-3.

Nongnuch W, Thongkum W, & Eamratsameekool W. Development of Quality Referral Systemin Emergency Patients between Hospital of ChiangKhwan Hospital, Roi-EtProvince. Khon Kaen University Journal for Public Health Research. 2017; 10(2): 49-57. (in Thai)

Pugtarmnag S, Pranate N, Thitinniti Y, & Muangyim K. How to build a seamless referral system: A case study of The Chang Community hospital, Sing Buri, Thailand. Journal of Health Science Research. 2019; 13(1): 137-46. (in Thai)

Buranabenjasathian S. Development of a Risk Preventable Emergency Referral System of a 5-Health-Care Network, Chieng Rai Province. Journal of Health Science. 2017; 26(6): 1062-72. (in Thai)

Downloads

เผยแพร่แล้ว

11-12-2024

How to Cite

1.
ไชยสมบูรณ์ ส, คชไกร ร, เกษมสุข เ. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพการส่งต่อที่ไร้รอยต่อในเขตเมืองกรุงเทพมหานคร. J Royal Thai Army Nurses [อินเทอร์เน็ต]. 11 ธันวาคม 2024 [อ้างถึง 2 เมษายน 2025];25(3):161-9. available at: https://he01.tci-thaijo.org/index.php/JRTAN/article/view/270947