ผลของโปรแกรมการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพต่อความรอบรู้ทางด้านสุขภาพและพฤติกรรมการควบคุมระดับความดันโลหิตของผู้สูงอายุในชุมชน

ผู้แต่ง

  • วิทยา วาโย วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ขอนแก่น คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก
  • กัลยารัตน์ คาดสนิท วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ขอนแก่น คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก
  • จรรยา คนใหญ่ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ขอนแก่น คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก
  • สายสุดา จันหัวนา วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ขอนแก่น คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก
  • รุ่งทิพย์ พรหมบุตร วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ขอนแก่น คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก
  • วราพร แซ่หวง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโนนท่อน, ขอนแก่น

คำสำคัญ:

ความรอบรู้ทางด้านสุขภาพ, พฤติกรรม, ความดันโลหิต, ผู้สูงอายุ

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดก่อนและหลังการทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรม การส่งเสริมความรอบรู้ทางด้านสุขภาพ ความรอบรู้ทางด้านสุขภาพและพฤติกรรมการควบคุมความดันโลหิตของผู้สูงอายุในชุมชน กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้สูงอายุจำนวน 60 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวม ข้อมูล ประกอบด้วย 1) แบบสัมภาษณ์ข้อมูลส่วนบุคคล 2) แบบสัมภาษณ์ความรอบรู้ทางด้านสุขภาพ (ค่าความเชื่อมั่นสัมประสิทธิ์ อัลฟาครอนบาค = .93) 3) แบบสัมภาษณ์พฤติกรรมการควบคุมความดันโลหิต (ค่าความเชื่อมั่นสัมประสิทธิ์อัลฟาครอนบาค = .89) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา Paired t-test และ Independent t-test ผลการวิจัยสรุปได้ พบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนความ รอบรู้ทางด้านสุขภาพของกลุ่มทดลอง ภายหลังการเข้าร่วมโปรแกรมสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .001) ค่าเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมการควบคุมระดับความดันโลหิตของกลุ่มทดลอง ภายหลังการเข้าร่วมโปรแกรมสูงกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .001) ค่าเฉลี่ยคะแนนความรอบรู้ทางด้านสุขภาพของกลุ่มทดลองภายหลังการเข้าร่วมโปรแกรมสูง กว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .001) และค่าเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมการควบคุมระดับความดันโลหิต ของกลุ่ม ทดลองภายหลังการเข้าร่วมโปรแกรมสูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .001)

Downloads

References

Prasartkun P. Situation of The Thai Elderly 2020. 2021. Bangkok: Amarin & Publishing Limited Partnership. (in Thai).

Anuruang S. Multimorbidity in older person: situation, challenge issues, and care management. Journal of Nursing Science Chulalongkorn University. 2017; 29(2) : 1-14 (in Thai).

Ministry of Public Health Bureau of noncommunicable disease. Report NCDs 2019. Bangkok : Aksorn Grphic and Design Publishing Limited Partnership. 2021. (in Thai).

Ministry of Public Health Bureau of noncommunicable disease. Annual Report 2020. Bangkok : Aksorn Grphic and Design Publishing Limited Partnership. 2021. (in Thai).

Sinsap N, Jankra J, Jaiman B. Hypertension in Elderly: Silence Killer Should be Aware. Journal of Phrapokklao Nursing College. 2017; 28(1) : 100-11. (in Thai).

Srimookda N, Mitsungnern T, Imoun S, Wunsupong S. Effects of purse lip breathing on blood pressure in hypertensive urgency among patients with hypertensive urgency. Journal of Nursing Science & Health. 2020; 43(1): 87-96. (in Thai).

Kareesun K, Malatthum P, Sutti N. Relationship among Health Literacy, Knowledge about Hypertention Control, and Health Behavior in Older Persons with Hypertension. Ramathibodi Nursing Journal. 2019; 25(3): 280-95. (in Thai).

Chotchai T, Seedaket S, Taearak K, Panyasong S, Buajun A. Factors Related to Health Literacy in Prevention of Hypertension among Group at Risk in Sumran Sub-District, Muaeng District, Khon Kaen Province. The Southern College Network Journal of Nursing and Public Health. 2019; 7(1): 45-56. (in Thai).

Tiparat w, Suwanweala S, Wauters Y. Factor Predicting Health Literacy of Older People with Hypertension and Co-morbidity in Trang Province. The Southern College Network Journal of Nursing and Public Health. 2020; 7(2): 26-38. (in Thai).

Nutbeam D. The Evolving Concept of Health Literacy. Social Science and Medicine. 2008; 67: 2072-78.

Cohen J. Statistical power analysis for the behavioral sciences. New York: Lawrence Erlbaum Associates. 1988. 12.Wanprasert S, Moolsart S, Jantacumma N. The effectiveness of a health literacy developmental program in a pre-hypertension group with overweight. Journal of Nursing, Public Health, and Education. 2019; 20(2): 92-104. (in Thai).

Sarakshetrin A, Tongpeth J, Sriwonsa A. The Effectiveness of Health Literacy Enhancing and Developing Program on A1C Blood Pressure Level Health Literacy and Diabetes and Hypertension Control Behaviors. Journal of The Royal Thai Army Nurses. 2022; 23(1): 333-42. (in Thai).

Seanloa P, Karnganophas P, Hirungerd S. Effectiveness of Health Education Program on Health Promotion Behaviors of Elderly Persons in Hypertension Disease, Nafai District, Amphoe Muang, Chaiyaphum Province. 2020; 23(1): 98-107. (in Thai)

Sriyasak A, Sarakshetrin A, Tongpeth J, Ket-in V, Utaitum N, Mookui S, Meesub T. The Development of Health Literacy for Health Management of Older Persons with Diabetes and Hypertension in Primary Care Cluster Context: Case Study in Phetchaburi Province. Journal of Health Systems Research. 2021; 15(2): 155-73.

Chantra R, Heetaksorn C, Kunlaka, S, Sarakshetrin A, Rongmuang D. Health Literacy of the Population at Risk for Diabetes and Hypertension. Nursing Journal of the Ministry of Public Health. 2020; 30(2): 177-89. (in Thai).

Waichompu N, Boontud R, Singweratham N. Elderly Health Promotion by Three Main Concepts. The Southern College Network Journal of Nursing and Public Health. 2020; 7(2): 26-38. (in Thai).

Punyathanachaikhul K, Moolsart S, Chailimpamontree W. The Effectiveness of a Health Literacy Developmental Program in Hypertension Patients Risking to Chronic Kidney Disease. Nursing Public Health and Education Journal. 2020; 20(1): 41-54. (in Thai).

Downloads

เผยแพร่แล้ว

05-05-2023

How to Cite

1.
วาโย ว, คาดสนิท ก, คนใหญ่ จ, จันหัวนา ส, พรหมบุตร ร, แซ่หวง ว. ผลของโปรแกรมการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพต่อความรอบรู้ทางด้านสุขภาพและพฤติกรรมการควบคุมระดับความดันโลหิตของผู้สูงอายุในชุมชน. J Royal Thai Army Nurses [อินเทอร์เน็ต]. 5 พฤษภาคม 2023 [อ้างถึง 9 เมษายน 2025];24(1):43-52. available at: https://he01.tci-thaijo.org/index.php/JRTAN/article/view/255808