ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสมรรถนะในการเลี้ยงดูบุตรในมารดาหลังคลอดบุตรคนแรก

ผู้แต่ง

  • สุนีย์ กลีบปาน คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
  • วรรณา พาหุวัฒนกร คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
  • ฉวีวรรณ อยู่สำราญ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
  • วิมลนันท์ พุฒิวณิชพงศ์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

คำสำคัญ:

สมรรถนะในการเลี้ยงดูบุตร, มารดาหลังคลอด

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของอายุ ภาวะซึมเศร้าระยะตั้งครรภ์ ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด ความ ต้องการบุตร และการทำหน้าที่ของครอบครัว ต่อสมรรถนะในการเลี้ยงดูบุตรในมารดาหลังคลอดบุตรคนแรก กลุ่มตัวอย่างเป็น มารดาหลังคลอดบุตรคนแรกที่มารับบริการ ณ คลินิกวางแผนครอบครัว โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย เลือกแบบเจาะจง จำนวน 100 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมินภาวะซึมเศร้าหลังคลอด แบบสอบถามการทำหน้าที่ของครอบครัว และแบบสอบถามสมรรถนะในการเลี้ยงดูบุตร วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติพรรณนา สถิติสห สัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ 1. ผลการศึกษาพบว่า อายุ ภาวะซึมเศร้าระยะตั้งครรภ์ ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด ความต้องการบุตร และการทำหน้าที่ของ ครอบครัว สามารถร่วมกันทำนายสมรรถนะในการเลี้ยงดูบุตรในมารดาหลังคลอดบุตรคนแรกได้ร้อยละ 35 (R2 = .350, p < .001) เมื่อพิจารณาค่าสัมประสิทธิ์ถดถอยของตัวพยากรณ์ พบว่า การทำหน้าที่ของครอบครัวสามารถทำนายสมรรถนะในการเลี้ยงดูบุตร ในมารดาหลังคลอดบุตรคนแรกได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (β = .469, p < .001) ส่วนอายุ ภาวะซึมเศร้าระยะตั้งครรภ์ ภาวะซึม เศร้าหลังคลอด และความต้องการบุตร ไม่สามารถทำนายสมรรถนะในการเลี้ยงดูบุตรในมารดาหลังคลอดบุตรคนแรกได้ (p = .887, .198, .654 และ .133 ตามลำดับ)

Downloads

Author Biographies

สุนีย์ กลีบปาน, คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

นักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการผดุงครรภ์ คณะพยาบาลศาาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

วรรณา พาหุวัฒนกร, คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก

References

1. Barabach L, Ludington-Hoe SM, Dowling D, Lotas M. Role of baby-friendly hospital care in maternal role competence. Nursing for Women’s Health. 2017;21(2):96-107.

2. Shrooti S, Mangala S, Nirmala P, Devkumari S, Dharanidhar B. Perceived maternal role competence among the mothers attending immunization clinics of Dharan, Nepal. International Journal of Community Based Nursing and Midwifery. 2016;4(2):100-6.

3. Ngai FW, Chan SWC. Stress, Maternal Role Competence, and Satisfaction among Chinese women in the perinatal period. Research in Nursing & Health. 2012;35:30-9.

4. Brown SG, Hudson DB, Grossman CC, Kupzyk KA, Yates BC, Hanna KM. Social Support, Parenting Competence, and Parenting Satisfaction among Adolescent, African American, Mothers. Western Journal of Nursing Research. 2016:1-18.

5. Copeland DB, Harbaugh BL. Early maternalefficacy and competence in first-time, low-income mothers. Comprehensive Child and Adolescent Nursing. 2016;40(1):6-28.

6. Ngai FW, Chan SWC, Ip WY. Predictors and correlates of maternal role competence and satisfaction. Nursing Research. 2010;59(3):185-93.

7. Nieto L, Lara MA, Navarrete L. Prenatal predictors of maternal attachment and their association with postpartum depressive symptoms in Mexican women at risk of depression. Maternal and Child Health Journal. 2017;21:1250-9.

8. Angley M, Divney A, Magriple U, Kershaw T. Social support, family functioning and parenting competence in adolescent parents. Maternal and Child Health Journal. 2015;19(1):67-73.

9. Shorey S, Chan SWC, Chong YS, He HG. Predictors of maternal parental self-efficacy among primiparas in the early postnatal period. Western Journal of Nursing Research. 2015; 37(12):1604-22.

10. Putdivarnichapong W, Phahuwatanakorn W, Santhanavanich C, Soonthornchaiya R. Using grounded theory method to study Thai Family Functioning. Conference Proceedings: International Council of Women’s issues (ICOWHI) 19th International Congress on Women’s Health, “Women’s Health 2012: Partnering for a Brighter Global Future”; 2012 Nov 14-16; Bangkok, Thailand; 2012.

11. Kershaw T, Murphy A, Lewis J, Divney A, Albritton T, Magriples U, et al. Family and relationship influences on parenting behaviors of young parents. Journal of Adolescent Health. 2014; 54:197-203.

12. Plodpluang U, Srichan A, Kaewpraphan S. Family support of teenage pregnancy: A case study of Kanchanaburi Province. SDU Research Journal. 2011;7(3):1-13. (in Thai)

13. Sunanta S, Yusamran C, Phahuwatanakorn W. Effect of Providing Knowledge and Support Primiparous Adolescent Mother and Grandmother on Maternal Role Attainment. Journal of The Royal Thai Army Nurses. 2016; 17(2):125-34. (in Thai)

14. Junsri S, Nitipong V, Rueangrong B. The Factors related to Postpartum Depression in Teenage Mothers. Journal of The Royal Thai Army Nurses. 2017;18(3):236-43. (in Thai)

15. Bagherinia M, Meedya S, Mirghafourvand M. Association between maternal sense of competence and self-efficacy in primiparous women during postpartum period. Shiraz E Medical Journal. 2018;19(3).

Downloads

เผยแพร่แล้ว

21-08-2019

How to Cite

1.
กลีบปาน ส, พาหุวัฒนกร ว, อยู่สำราญ ฉ, พุฒิวณิชพงศ์ ว. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสมรรถนะในการเลี้ยงดูบุตรในมารดาหลังคลอดบุตรคนแรก. J Royal Thai Army Nurses [อินเทอร์เน็ต]. 21 สิงหาคม 2019 [อ้างถึง 9 เมษายน 2025];20(2):140-9. available at: https://he01.tci-thaijo.org/index.php/JRTAN/article/view/174761