ผลของโปรแกรมการเตรียมความพร้อมญาติผู้ดูแลต่อการป้องกัน การสำลักในผู้ป่วยสูงอายุที่มีภาวะกลืนลำบาก

ผู้แต่ง

  • ศิริรัตน์ เหิมสุวรรณ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
  • วิราพรรณ วิโรจน์รัตน์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
  • ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
  • อัครชัย อรุณเหลือง ศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนเขต 7 อำเภอแม่ริม เชียงใหม่

คำสำคัญ:

ภาวะกลืนลำบาก, ผู้สูงอายุ, ญาติผู้ดูแล

บทคัดย่อ

การวิจัยเชิงทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการเตรียมความพร้อมญาติผู้ดูแลต่อการป้องกันการสำลัก ในผู้ป่วยสูงอายุที่มีภาวะกลืนลำบาก กลุ่มตัวอย่าง คือ ญาติผู้ดูแลผู้ป่วยสูงอายุที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่ง ในเขตกรุงเทพมหานคร อายุ 20 ปีขึ้นไปทั้งเพศชายและเพศหญิงจำนวน 42 ราย แบ่งเป็นกลุ่มควบคุม 21 ราย ได้รับการพยาบาล ตามปกติ และกลุ่มทดลอง 21 ราย ได้รับการพยาบาลตามปกติร่วมกับโปรแกรมการเตรียมความพร้อม ระยะเวลาของโปรแกรม 4 วัน แต่ละวันใช้เวลา 15-45 นาที รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมินความพร้อมในการดูแลของ อาร์ชโบลและสจ๊วต วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยายและสถิติทดสอบค่าที
ผลการวิจัยพบว่า โปรแกรมการเตรียมความพร้อมญาติผู้ดูแลต่อการป้องกันการสำลักในผู้ป่วยสูงอายุที่มีภาวะกลืนลำบาก สามารถเพิ่มความพร้อมในการดูแลเพื่อป้องกันการสำลักในผู้ป่วยสูงอายุที่มีภาวะกลืนลำบากอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ .05 (t = 5.79, p = .00)
ดังนั้น พยาบาลในหอผู้ป่วยควรส่งเสริมให้ญาติมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยตั้งแต่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล เพื่อเป็นการพัฒนาสมรรถนะและเตรียมความพร้อมของญาติผู้ดูแลจากโรงพยาบาลต่อเนื่องไปยังบ้าน และเป็นการพัฒนาบทบาท พยาบาลในการดูแลผู้ป่วยก่อนจำหน่ายออกจากโรงพยาบาลให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

Downloads

References

Charoensuk D. Contemporary aging and community health promotion. Journal of the Police Nurses. 2015); 7(2), 280-295. (in Thai)

Sirindhorn National Medical Rehabilitation Institute. Clinical Practice Guidelines: dysphagia. 1th ed. Nonthaburi: Sahamitr Printing And Publishing Company Limited; 2019. (in Thai)

Saiyot S. Prevalence of dysphagia in hospitalized stroke patients in Sisaket hospital. Medical Journal of Srisaket Surin Buriram Hospitals. 2018; 33(2); 119-28. (in Thai)

Carmen M, Alberto M, Graupera M, Arias O, Elvira A, Cabré M, et al. Prevalence, risk factors, and complications of oropharyngeal dysphagia in older patients with dementia. Nutrients. 2020; 12; 863-77.

Ortega O, Martín A, Clavé P. Diagnosis and management of oropharyngeal dysphagia among older persons, state of the art. Journal of the American Medical Directors Association. 2017; 18; 576-82.

Kasemkijwattana S, Praison P. Family caregivers chronic disease. Thai Journal of Nursing Council. 2014; 29(4); 22-31. (in Thai)

Archbold S, Lutman M, Marshall D. Categories of auditory performance. Annals of Otology, Rhinology & Laryngology. 1995; 104; 312-14.

Schumacher K, Stewart B, Archbold P, Caparro M, Mutale F, Agrawal S. Effects of caregiving demand, mutuality, and preparedness on family caregiver outcome during cancer treatment. Oncology Nursing Forum. 2008; 35(1); 49-56.

National Statistical Office. Report on the 2017 survey of the older persons in Thailand. 1thed. Bangkok: Statistical Forecasting Division; 2017. (in Thai)

Mohammadi S, Zabolypour S, Ghaffari F, Arazi T. The effect of family-oriented discharge program on the level of preparedness for care-giving and stress experienced by the family of stroke survivors. Iranian Rehabilitation Journal. 2019; 17(2); 113-19.

Trapl M, Enderle P, Nowotny M, Teuschl Y, Matz K, Dachenhausen A, Brainin M. Dysphagia Bedside Screening for Acute-Stroke Patients; The Gugging Swallowing Screen. Journal of the American Heart Association. 2007; 38; 2948-52

Trongsakul S, Lambert R, Clark A, Wongpakaran N ,Cross J. Development of the Thai version of Mini-Cog, a brief cognitive screening test. Geriatr Gerontol Int. 2015; 15(5); 594-600. in Thai)

Wirojratana V. Development of the Thai family care inventory [dissertation]. Portland, OR: Oregon Health & Science University; 2002.

Surakan P, Jongudomkarn D. The family caregiver’s roles in providing care for chronically the ill family members: A synthesis of qualitative research theses. Journal of the Office of DPC 7 Khon Kaen. 2019); 26(2); 83-92. (in Thai)

Pettakon S, Teerawanviwat D. Risk of catastrophic health expenditures among Thai elderly. KKU Research Journal. 2019; 19(3); 36-47. (in Thai)

Piriyajaratchai N, Sasat S. Factors predicting caregiver’s readiness for dependent older persons in transition period on hospital to home. Journal of The Royal Thai Army Nurses. 2018; 19(3); 231-40. (in Thai)

Sutthirit S, Yuangthong A, Chanead W, Niyomjit S, Bueasang N, Rodcharoen S. Stress of caregivers providing care for bedridden elderly, Surat Thani Province. Reg11med. 2021; 35(2); 1-12. (in Thai)

Laplai P, Wongvatunyu S, Sirapo-ngam Y. The effects of the program to promote safe eating in stroke patients on family caregivers knowledge, self-efficacy, outcome expectation, family caregivers satisfaction, and safe eating in stroke patients. Ramathibodi Nursing Journal. 2017; 9(2); 78-98. (in Thai)

Downloads

เผยแพร่แล้ว

11-12-2024

How to Cite

1.
เหิมสุวรรณ ศ, วิโรจน์รัตน์ ว, วัฒนกิจไกรเลิศ ด, อรุณเหลือง อ. ผลของโปรแกรมการเตรียมความพร้อมญาติผู้ดูแลต่อการป้องกัน การสำลักในผู้ป่วยสูงอายุที่มีภาวะกลืนลำบาก. J Royal Thai Army Nurses [อินเทอร์เน็ต]. 11 ธันวาคม 2024 [อ้างถึง 2 เมษายน 2025];25(3):460-7. available at: https://he01.tci-thaijo.org/index.php/JRTAN/article/view/263188