ปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุ ต� าบลคูบัว จังหวัดราชบุรี The Infuences of Aging Health in Tumbon Koobua, Ratchaburi.
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
การศึกษาวิจัยครั ้งนี ้มีวัตถุประสงค์เพื ่อประเมินภาวะสุขภาพแบบองค์รวมทั ้งด้านร่างกายและด้านจิตใจ และสร้างสมการ
พยากรณ์ภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุ กลุ่มตัวอย่างเป็นประชากรที ่อายุ 60 ปีขึ ้นไป มีภูมิลำเนาอยู่ในเขตชนบท ตำบลคูบัว อำเภอมือง จังหวัดราชบุรี จานวน 772 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ เครื ่องมือที ่ใช้ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ แบบสัมภาษณ์
ข้อมูลทั่วไป แบบประเมินพฤติกรรมสุขภาพ แบบประเมินความสุข แบบประเมินความเครียด และภาวะครอบครัวเป็นสุข ผ่าน
ตรวจสอบความตรงตามเนื ้อหาโดยผู้เชี ่ยวชาญทางด้านผู้สูงอายุ และหาค่าความเที ่ยงของเครื ่องมือโดยวิธีการหาค่าสัมประสิทธิ ์
แอลฟาของครอนบาคได้ค่าความเที่ยงของเครื่องมือแต่ละชุดอยู่ระหว่าง 0.69 - 0.84 สร้างสมการพยากรณ์ภาวะสุขภาพโดย
ใช้สถิติการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) แบบวิธีำเข้า (Forward Selection)
ผลการวิจัย พบว่า 1) ผู้สูงอายุในตำบลคูบัวมีเพศหญิง จำนวน 444 คน คิดเป็น ร้อยละ 57.5 มีอายุอยู่ในช่วง 60-69 ปี
มากที่สุด คิดเป็น ร้อยละ 52.3 มีสถานภาพสมรสคู่ คิดเป็น ร้อยละ 57.6 มีรายได้พอเพียง คิดเป็น ร้อยละ 39.9 การศึกษา
อยู่ในระดับประถมศึกษาปีที่ 4 มากที่สุด คิดเป็น ร้อยละ 66.1 และร้อยละ 33.5 ไม่ได้ประกอบอาชีพ ร้อยละ 57.0
ของผู้สูงอายุมีความเห็นว่าตนเองมีสภาพร่างกายแข็งแรง มีโรคประจำตัวคือ โรคความดันโลหิตสูงมากที ่สุด คิดเป็น ร้อยละ 54.4
ของผู้สูงอายุที่มีโรคประจำตัวทั้งหมด และร้อยละ 86.7 ไม่มีความพิการ 2) มีปัญหาด้านโภชนาการเกินและทุพโภชนาการ
คิดเป็น ร้อยละ 75.4 และร้อยละ 34.7 ตามลำดับ ด้านสุขภาพพบว่า มีภาวะสุขภาพอยู่ในระดับปานกลางมากที่สุด คิดเป็น
ร้อยละ 75.5 3) ตัวแปรพยากรณ์ภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุคือ ภาวะครอบครัวเป็นสุข (X4) และ เพศ (X6
) ซึ่งมีอำนาจการ
พยากรณ์ได้ ร้อยละ 8.0 มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณ 0.283 มีค่าคลาดเคลื่อนมาตรฐานของการพยากรณ์ ±7.987
และมีค่าคงที่ของสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบ 52.215 ซึ่งเขียนสมการพยากรณ์ภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุได้ดังนี้
Y = 52.215+.279 X4
+2.796 X6
การส่งเสริมภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุควรเน้นการสนับสนุนที ่มาจากครอบครัว สร้างภาวะครอบครัวเป็นสุข จัดกิจกรรม
จรรโลงจิตใจโดยมีครอบครัวเป็นแกนนำ เมื ่อจิตเป็นสุขและเข้มแข็งก็จะสามารถนำสู่การดูแลสุขภาพที ่ดีเกิดภาวะสุขภาพ และคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป
การศึกษาวิจัยครั ้งนี ้มีวัตถุประสงค์เพื ่อประเมินภาวะสุขภาพแบบองค์รวมทั ้งด้านร่างกายและด้านจิตใจ และสร้างสมการ
พยากรณ์ภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุ กลุ่มตัวอย่างเป็นประชากรที ่อายุ 60 ปีขึ ้นไป มีภูมิลำเนาอยู่ในเขตชนบท ตำบลคูบัว อำเภอมือง จังหวัดราชบุรี จานวน 772 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ เครื ่องมือที ่ใช้ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ แบบสัมภาษณ์
ข้อมูลทั่วไป แบบประเมินพฤติกรรมสุขภาพ แบบประเมินความสุข แบบประเมินความเครียด และภาวะครอบครัวเป็นสุข ผ่าน
ตรวจสอบความตรงตามเนื ้อหาโดยผู้เชี ่ยวชาญทางด้านผู้สูงอายุ และหาค่าความเที ่ยงของเครื ่องมือโดยวิธีการหาค่าสัมประสิทธิ ์
แอลฟาของครอนบาคได้ค่าความเที่ยงของเครื่องมือแต่ละชุดอยู่ระหว่าง 0.69 - 0.84 สร้างสมการพยากรณ์ภาวะสุขภาพโดย
ใช้สถิติการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) แบบวิธีำเข้า (Forward Selection)
ผลการวิจัย พบว่า 1) ผู้สูงอายุในตำบลคูบัวมีเพศหญิง จำนวน 444 คน คิดเป็น ร้อยละ 57.5 มีอายุอยู่ในช่วง 60-69 ปี
มากที่สุด คิดเป็น ร้อยละ 52.3 มีสถานภาพสมรสคู่ คิดเป็น ร้อยละ 57.6 มีรายได้พอเพียง คิดเป็น ร้อยละ 39.9 การศึกษา
อยู่ในระดับประถมศึกษาปีที่ 4 มากที่สุด คิดเป็น ร้อยละ 66.1 และร้อยละ 33.5 ไม่ได้ประกอบอาชีพ ร้อยละ 57.0
ของผู้สูงอายุมีความเห็นว่าตนเองมีสภาพร่างกายแข็งแรง มีโรคประจำตัวคือ โรคความดันโลหิตสูงมากที ่สุด คิดเป็น ร้อยละ 54.4
ของผู้สูงอายุที่มีโรคประจำตัวทั้งหมด และร้อยละ 86.7 ไม่มีความพิการ 2) มีปัญหาด้านโภชนาการเกินและทุพโภชนาการ
คิดเป็น ร้อยละ 75.4 และร้อยละ 34.7 ตามลำดับ ด้านสุขภาพพบว่า มีภาวะสุขภาพอยู่ในระดับปานกลางมากที่สุด คิดเป็น
ร้อยละ 75.5 3) ตัวแปรพยากรณ์ภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุคือ ภาวะครอบครัวเป็นสุข (X4) และ เพศ (X6
) ซึ่งมีอำนาจการ
พยากรณ์ได้ ร้อยละ 8.0 มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณ 0.283 มีค่าคลาดเคลื่อนมาตรฐานของการพยากรณ์ ±7.987
และมีค่าคงที่ของสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบ 52.215 ซึ่งเขียนสมการพยากรณ์ภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุได้ดังนี้
Y = 52.215+.279 X4
+2.796 X6
การส่งเสริมภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุควรเน้นการสนับสนุนที ่มาจากครอบครัว สร้างภาวะครอบครัวเป็นสุข จัดกิจกรรม
จรรโลงจิตใจโดยมีครอบครัวเป็นแกนนำ เมื ่อจิตเป็นสุขและเข้มแข็งก็จะสามารถนำสู่การดูแลสุขภาพที ่ดีเกิดภาวะสุขภาพ และคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป
Article Details
How to Cite
บท
นิพนธ์ต้นฉบับ
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จังหวัดนนทบุรี
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จังหวัดนนทบุรี และคณาจารย์ท่านอื่น ในวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว