ประสิทธิผลโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพต่อพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุในชุมชน
Main Article Content
บทคัดย่อ
การส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพเป็นกลยุทธ์สำคัญของการมีสุขภาพดี การวิจัยแบบกลุ่มเดียววัดผลก่อนหลัง มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินประสิทธิผลของโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพต่อพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุในชุมชนจังหวัดสระบุรี กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุ จำนวน 65 คน ที่เข้าร่วมกิจกรรมระยะเวลา 8 สัปดาห์ โดยรับฟังการบรรยาย การสาธิต และการฝึกปฏิบัติ รวมทั้งสิ้น 15 ชั่วโมง รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามเกี่ยวกับภาวะสุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพ และความพึงพอใจต่อโปรแกรม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และสถิติที (Dependent t -test)
ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีอายุเฉลี่ย 70.03 (SD = 6.66) ปี การศึกษาระดับประถมศึกษา ร้อยละ 87.69 มีโรคเรื้อรัง ร้อยละ 76.12 ความพึงพอใจต่อโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพระดับดี ร้อยละ 92.08 การเปรียบเทียบระหว่างก่อนและหลังการทดลองพบคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมสุขภาพเพิ่มสูงขึ้นและอยู่ในระดับดี ในด้านการรับประทานอาหาร (=28.11 (SD=2.89) vs. = 29.82 (SD=1.83), p=.000) และการจัดการความเครียด (=20.23 (SD=3.48) vs. =21.91 (SD=2.42), p=.001) ดังนั้นสรุปได้ว่า โปรแกรมที่ใช้ในการศึกษานี้สามารถนำไปใช้ส่งเสริมการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีของผู้สูงอายุในชุมชนได้
Article Details
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จังหวัดนนทบุรี
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จังหวัดนนทบุรี และคณาจารย์ท่านอื่น ในวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว
References
2.Sergiev PV, Dontsova OA, Berezkin GV. Theories of aging: An ever-evolving field. Acta Naturae. 2015;7(1):9-18.
3.Kelleya K, Abraham C. RCT of a theory-based intervention promoting healthy eating and physical activity amongst out-patients older than 65 years. Soc Sci Med. 2004;59(4):787–97.
4.Tipkanjanaraykha K, Yingrengreung S, Kheokao J, Ubolwan K, Jaemtim N, Promsuan W. Health information seeking behaviors of elderly through online media according to perceived health status. Journal of Health Science Research. 2017;11 Suppl:12-22. (in Thai).
5.Health Education Division, Department of Health Service Support, Ministry of Public Health. Community health behavior modification. Nonthaburi: Health Education Division, Department of Health Service Support; 2013. (in Thai).
6.Pender NJ, Murdaugh CL, Parsons MA. Health promotion in nursing practice. 5th ed. New Jersey: Prentice Hall; 2005.
7.Kosaitip T. Relationship between health behavior and health status among elderly [Independent Study]. Phitsanulok: Neresuan University; 2009. (in Thai).
8.Golinowska S, Groot W, Baji P, Pavlova M. Health promotion targeting old people. BMC Health Serv Res. 2016;16 Suppl 5:345.
9.Soichue M, Benjakul S, Kengganpanich M, Kengganpanich T. Effects of the arm swing exercise program applying self-efficacy theory and social support of the young elderly in Bangkok metropolitan. Journal of Boromarajonani College of Nursing, Bangkok. 2017;33(2):73-83. (in Thai).
10.Bunchuai U. The effects of health promotion program for hypertension elderly: Case study at Thritong Tumbon health promoting hospital in Chaiburee District, Suratthani Province. Community Health Development Quarterly Khon Kaen University. 2015;3(2):231-44. (in Thai).
11.Ounnapiruk L, Wirojratana V, Kongsuriyanavin W, Termsettajaroen W. The effectiveness of a health promotion program on quality of life of elderly people in the elderly club. Journal of Nursing Science. 2012;30(2):35-45. (in Thai).
12.Rodjarkpai Y, Rojpaisarnkit K, Pongsaengpan P. Developing a model integrating family and community care for the elderly. Journal of Health Science Research. 2018;12(1):92-101. (in Thai).
13.Chen EW, Fu AS, Chan KM, Tsang WW. The effects of Tai Chi on the balance control of elderly persons with visual impairment: A randomised clinical trial. Age Ageing. 2012;41(2):254-9.
14.Lis K, Reichert M, Cosack A, Billings J, Brown P. Evidence-based guidelines on health promotion for older people. Vienna: Austrian Red Cross; 2008.