ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้และความคาดหวังของประชาชนที่มีต่อ ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินในจังหวัดสมุทรสงคราม
คำสำคัญ:
ความรู้, ความคาดหวัง, ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน, ประชาชนบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาแบบภาคตัดขวาง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความรู้
และความคาดหวังของประชาชนที่มีต่อระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินและศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรู้กับความคาดหวังของประชาชนที่มีต่อระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินในจังหวัดสมุทรสงคราม กลุ่มตัวอย่างคือ ประชาชนในจังหวัดสมุทรสงครามที่มีอายุ 20 ปีขึ้นไป จำนวน 402 คน โดยการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น
โดยใช้สัดส่วน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์หาความสัมพันธ์โดยใช้สถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน
ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีระดับความรู้เกี่ยวกับบริการการแพทย์ฉุกเฉินโดยรวมอยู่ในระดับดี (=15.56, SD=2.40) ระดับความคาดหวังต่อระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินโดยรวมอยู่ในระดับมาก
(= 45.46, SD= 4.97) และความรู้เกี่ยวกับบริการการแพทย์ฉุกเฉินมีความสัมพันธ์กับความคาดหวัง
ต่อระบบการแพทย์ฉุกเฉินในเชิงบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value<0.05) ผลการศึกษาในครั้งนี้
สามารถนำข้อมูลไปส่งเสริมให้ความรู้เกี่ยวกับการเข้าถึงระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินที่เหมาะสมและการพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินที่เหมาะสมตอบสนองความต้องการของประชาชนและได้มาตรฐานต่อไป
References
กระทรวงสาธารณสุข. (2565). อัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยวิกฤติฉุกเฉิน (triage level 1 ) ภายใน 24 ชั่วโมง ในโรงพยาบาลระดับ A, S, M1 (ทั้งที่ ER และ Admit) น้อยกว่าร้อยละ 12. [สืบค้นเมื่อ 4 มีนาคม 2566]; แหล่งข้อมูล:https://hdcservice.moph.go.th/hdc/reports/report.php?&cat_id=9d8c311d6336373d40437c4423508cad&id=4709220e55ae6c91c872e08b4ac2498c
กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2564. ประชากรทะเบียนราษฎร์ จำแนกรายเพศ ปีงบประมาณ 2564 สมุทรสงคราม. [สืบค้นเมื่อ 12 มกราคม 2566]:แหล่งข้อมูล https://dashborad.anamai.moph.go.th/pop-all/changwat?year=2021&cw=75
จิตรประไพ สุรชิต. (2560). การรับรู้และความคาดหวังต่อระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน โรงพยาบาลปากน้ำ
หลังสวน จังหวัดชุมพร. วารสารวิชาการแพทย์เขต 11, 31(2), 271-278.
ธีระ ศิริสมุด, กิตติพงศ์ พลเสน, และพรทิพย์ วชิรดิลก. (2561). ความรู้ ทัศนคติ และเหตุผลที่ไม่เรียกใช้บริการการแพทย์ฉุกเฉินของผู้ป่วยฉุกเฉินในประเทศไทย. วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข, 12(4), 668-680.
นงคราญ ใจเพียร. (2564). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการใช้บริการการแพทย์ฉุกเฉินของผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉิน และฉุกเฉินเร่งด่วนในโรงพยาบาลแห่งหนึ่ง. วารสารวิจัยการพยาบาลและสุขภาพ, 22(1), 52-66.
ประกายทิพย์ พรหมสูตร. (2564). การรับรู้และความคาดหวังของผู้ป่วยและญาติดต่อระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน อำเภอสระใคร จังหวัดหนองคาย. หนองคาย: งานอุบัติเหตุฉุกเฉิน โรงพยาบาลสระใคร.
ปิยะวรรณ เพียรภายลุน. (2554). ความรู้ทัศนคติและความคาดหวังของประชาชนในพื้นที่ความรับผิดชอบของโรงพยาบาลสามโคกต่อบริการการแพทย์ฉุกเฉิน. พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต. ปทุมธานี:
มหาวิทยาลัยธรรมศาตร์.
พิมพ์ณดา อภิบาลศรี และบุญสม เกษะประดิษฐ์. (2561). วิเคราะห์ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินและปัจจัย
ที่สัมพันธ์ต่อพฤติกรรม การใช้บริการการแพทย์ฉุกเฉินของประชากรในโรงเรียนนายร้อย
พระจุลจอมเกล้า. วารสารพยาบาลทหารบก, 9(ฉบับพิเศษ), 291-299.
รุจิรัตน์ กอธงทอง. (2565). ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ตามแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพกับพฤติกรรมการใช้บริการการแพทย์ฉุกเฉินของผู้รับบริการโรงพยาบาลดำเนินสะดวก. วารสารวิจัยเพื่อการส่งเสริมสุขภาพและคุณภาพชีวิต, 2(3), 49-58.
สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ. (2565). แผนหลักการแพทย์ฉุกเฉิน. สถานการณ์สุขภาพและการแพทย์ฉุกเฉิน (ฉบับที่4), 37-48.
สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ. (2565). ร้อยละของประชากรเข้าถึงบริการแพทย์ฉุกเฉิน. [สืบค้นเมื่อ 25 กุมภาพันธ์ 2566]; แหล่งข้อมูล: https://ws.niems.go.th/KPI57/2557/kpi61reportextra02.aspx
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรสงคราม. (2566). รายงานสถานการณ์การดำเนินงานการป้องกันอุบัติเหตุและฉุกเฉินและบริการการแพทย์ฉุกเฉิน จังหวัดสมุทรสงคราม. สมุทรสงคราม: สำนักงานยุทธศาสตร์จังหวัดสมุทรสงคราม.
สุพรรณวดี ภิญโญ, ธัญดา แย้มโรจน์, กันยารัตน์ เกิดแก้ว, และ กลอยใจ ศรีสาคร. (2554). การรับรู้และ
ความคาดหวังต่อการบริการการแพทย์ฉุกเฉินของผู้ป่วยและญาติงานอุบัติเหตุและฉุกเฉินโรงพยาบาล
พระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี. เพชรบุรี: โรงพยาบาลพระจอมเกล้า.
สุรภา ขุนทองแก้ว. (2562). การศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการใช้บริการการแพทย์ฉุกเฉินจังหวัดราชบุรี. วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี, 2(1), 30-44.
อรรณพ สุขไพบูลย์, ชุภาศิริ อภินันท์เดช และธาตรี เจริญชีวกุล. (2559). ความพึงพอใจของผู้รับบริการในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน เทศบาลนครรังสิต จังหวัดปทุมธานี. วารสารวิทยาลัยนครราชสีมา, 4(1), 417-425.
Alvial, X., Rojas, A., Carrasco, R., Durán, C., Fernández-Campusano, C. (2021). Overuse of Health Care in the Emergency Services in Chile. Int. J. Environ. Res. Public Health,18,3082. https://doi.org/10.3390/ijerph18063082
Bloom, B (1975). Taxonomy of Educational Objectives Handbook I. Cognitive Domain. New York: David Mckay.
Hume, David. (1971). An Enquiry Concerning Human Nature. Chicago: United States of America.
Krejcie, R. V. & Morgan, D. W. (1970). Determining Sample Size for Research Activities. Educational and Psychological Measurement, 30(3):607-610.
Møller, T. P., Jensen, H. G., Viereck, S., Lippert, F., & Østergaaard, D. (2021). Medical dispatchers' perception of the interaction with the caller during emergency calls - a qualitative study. Scandinavian journal of trauma, resuscitation and emergency medicine, 29(1), 45. https://doi.org/10.1186/s13049-021-00860-y
Pochaisan, O., Pattanarattanamolee, R., Pongphuttha, W., Chadbunchachai, W., & Nakahara, S. (2021). Development of an emergency medical services system in Thailand: Roles of the universal healthcoverage and the national lead agency. Emergency medicine Australasia: EMA, 33(4), 756–758. https://doi.org/10.1111/1742-6723.13794
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารสภาการสาธารณสุขชุมชน
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
- บทความหรือข้อคิดเห็นใด ๆ ที่ปรากฏในวารสารสภาการสาธารณสุขชุมชน ที่เป็นวรรณกรรมของผู้เขียน บรรณาธิการ ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย
- บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของ วารสารสภาการสาธารณสุขชุมชน