เปรียบเทียบปัจจัยภูมิคุ้มกัน พฤติกรรมเสี่ยงการใช้สารเสพติดของนักเรียนในสถานศึกษาที่ผ่านมาตรฐานการดำเนินงานทูบีนัมเบอร์วันกับสถานศึกษาที่ยังไม่ผ่านมาตรฐานการดำเนินงาน ทูบีนัมเบอร์วัน ในจังหวัดอำนาจเจริญ

ผู้แต่ง

  • มงคล สุขจิตร มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตอำนาจเจริญ
  • ประเสริฐ ประสมรักษ์ มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตอำนาจเจริญ
  • ศุภยางค์ เกิดสุข มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตอำนาจเจริญ
  • สุขเกษม ร่วมสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ
  • สุพิชฌาย์ สายเย็น มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตอำนาจเจริญ

คำสำคัญ:

สารเสพติด, ทูบีนัมเบอร์วัน, ปัจจัยภูมิคุ้มกัน, พฤติกรรมเสี่ยง

บทคัดย่อ

การวิจัยเชิงวิเคราะห์แบบภาคตัดขวางในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบปัจจัยภูมิคุ้มกัน พฤติกรรมเสี่ยงการใช้สารเสพติดของนักเรียนในสถานศึกษาที่ผ่านมาตรฐานการดำเนินงานทูบีนัมเบอร์วันกับสถานศึกษาที่ยังไม่ผ่านมาตรฐานการดำเนินงาน ในจังหวัดอำนาจเจริญ จากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 232 คนใช้การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .94 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรนณาและสถิติ Independent t-test ผลการวิจัยพบว่า

ปัจจัยภูมิคุ้มกันของกลุ่มศึกษาและกลุ่มเปรียบเทียบไม่ความแตกต่างกัน (M= 4.18, SD=0.57), (M=4.08, SD=0.60) ตามลำดับ และพฤติกรรมเสี่ยงของกลุ่มศึกษาและกลุ่มเปรียบเทียบมีความแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (p=0.11) มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ (M=3.65, SD= 1.26), (M=3.51 (SD= 1.31) ตามลำดับ

ปัญหาเรื่องการลักขโมยมีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุดซึ่งเป็นปัจจัยด้านพฤติกรรมเสี่ยง ดังนั้น หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจึงควรแก้ปัญหาเรื่องพฤติกรรมเสี่ยงเป็นอันดับแรก

References

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย[อินเทอร์เน็ต]. (ม.ป.ป.) สืบค้นเมื่อ 6 เมษายน 2566 จาก http://human.skru.ac.th/research/datafile/6-13.PDF

โครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ปัญหายาเสพติด (TO BE NUMBER ONE). (2560). คู่มือการดำเนินงาน โครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด TO BE NUMBER ONE ในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ฉบับปรับปรุง ปี 2560. สืบค้นเมื่อ 4 กันยายน 2565 จาก http://www.tobefriend.in.th/dataservice/files/ds2-manualAndTech/manual/34.คู่มือการดำเนินงานฉบับปรุงปรุงใหม่2560.pdf

โครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ปัญหายาเสพติด (TO BE NUMBER ONE). (2560). บทบาทหน้าที่ของหน่วยงานหลัก.สืบค้นเมื่อ 4 กันยายน 2565 จากhttp://www.tobefriend.in.th/abouttobe/content6.php

โครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ปัญหายาเสพติด (TO BE NUMBER ONE). (2560). สรุปผลงานโครงการ To Be Number One. สืบค้นเมื่อ 4 กันยายน 2565 จาก http://www.tobefriend.in.th/abouttobe/files/content10/สรุปผลงาน61.pdf

นัฐพงษ์ นาอุดม, ศุภวัฒนากร วงศ์ธนวสุ. (2563). สาเหตุของการติดยาเสพติดกรณีศึกษาชุมชนคุ้มสระบัวตำบลในเมืองอำเภอเมืองจังหวัดร้อยเอ็ด. Journal of Modern Learning Development, 6, 102-115.

นันทพร พงศ์อิศวรานันท์. (2564). รายงานผลการดำเนินงานป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564. สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติิด กระทรวงยุติิธรรม.

บุตรฉัตร จันทร์แดง. (2560). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงต่อยาเสพติดของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนดงหลวงวิทยา อำเภอดงหลวง จังหวัดมุกดาหาร (วิทยานิพนธ์ระดับปริญญามหาบัณฑิต). สืบค้นเมื่อ 9 กันยายน 2565 จาก ttp://fulltext.rmu.ac.th/fulltext/2560/122595/Jandaeng%20Burachat.pdf

ปราณี แผนดี. (2563). ผลของโปรแกรมการส่งเสริมการลดสูบบุหรี่ต่อพฤติกรรมการลดสูบบุหรี่ของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชรจังหวัดกำแพงเพชร. (วิทยานิพนธ์เสนอบัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยนเรศวร).

เปรมฤดี หงส์สุทธิ, ภรภัทร เฮงอุดมทรัพย์, ดวงใจ วัฒนสินธุ์. (2560). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการป้องกันการติดสารเสพติดของนักเรียนชายโรงเรียนขยายโอกาส. วารสารพยาบาลวิทยาลัยบรมราชชนนี กรุงเทพ, 33(3), 112-123.

พณณกร ราชแก้ว. (2564). ปัจจัยแรงจูงใจที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการป้องกันยาเสพติดโรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดนราธิวาสสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 15. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยปทุมธานี, 14(1), 99-115.

ภูฟ้าเรสท์โฮม. สถิติผู้ป่วยสารเสพติดในประเทศไทย. (2565) สืบค้นเมื่อ 4 กันยายน 2565 จาก

https://www.phufaresthome.com/blog/stat-of-drug-addict-in-thai/

วิไลลักษณ์ ลังกา, อรอุมา เจริญสุข, พัชราภรณ์ ศรีสวัสดิ์, กัมปนาท บริบูรณ์. (2560). โมเดลเชิงสาเหตุของปัจจัยเสี่ยงและปัจจัยภูมิคุ้มกันที่มีต่อพฤติกรรมเสี่ยงการใช้สารเสพติดของเด็กและเยาวชนในพื้นที่หมู่บ้านอาสาพัฒนาและป้องกันตนเอง (อพป.). วารสารวิธีวิทยาการวิจัย, 30(1), 101-118.

ศูนย์วิชาการด้านยาเสพติด. ผลกระทบของสารเสพติด. (2549). สืบค้นเมื่อ 4 กันยายน 2565 จาก https://nctc.oncb.go.th/ewt_news.php?nid=304&filename=index

ศรราม ฦาชา, ชนะชัย อวนวัง, ทัชชวัฒน์ เหล่าสุวรรณ. (2563). พฤติกรรมเสี่ยงต่อยาเสพติดของนักเรียนโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา อำเภอบ้านแท่น จังหวัดชัยภูมิ. วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์, 21(3), 291-302.

สถาบันบำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดแห่งชาติบรมราชชนนี (สบยช.). (2564). สถิติผู้ป่วยทั้งหมดที่เสพ

ยาบ้าเป็นยาเสพติดหลัก และเสพร่วมกับยาอื่น ๆ ประจำปีงบประมาณ 2561-2564. สืบค้นเมื่อ 4 กันยายน 2565 จาก http://www.pmnidat.go.th/thai/index.php?option=com_content&task=view&id= 3469&Itemid=53

สุวพันธุ์ คะโยธา, วุธิพงศ์ ภักดีกุล. (2561). ปัจจัยเสี่ยงต่อการใช้สารเสพติดและปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันยาเสพติดของเยาวชนในโรงเรียนมัธยมศึกษาเขตเทศบาลสกลนคร. วารสารโรงพยาบาลสกลนคร, 3, 84-95.

สำนักงานสถิติแห่งชาติ. จำนวนสถานศึกษาในระบบโรงเรียน จำแนกตามสังกัด ในกรุงเทพมหานครและส่วนภูมิภาค ปีการศึกษา 2559 – 2563. สืบค้นเมื่อ 4 กันยายน 2565 จาก http://statbbi.nso.go.th/staticreport/page/sector/th/03.aspx

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ. (2561). รายงานโครงการทูบีนัมเบอร์วันจังหวัดอำนาจเจริญ. อำนาจเจริญ: สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ.

อัจฉราพร ส่ีหิรัญวงศ์, ประภา ยุทธไตร. (2556). ปัจจัยสัมพันธ์กับพฤติกรรมการใช้สารเสพติดในทางที่ผิดและติดศาลของผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์ในระบบบังคับบำบัด. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย, 58(4), 371-384.

Bernard, R. (2000). Fundamental of biostatistics. Duxbery: Thomas learning. 308.

Kim, T. K., Park, J. H. (2019). More about the basic assumptions of t-test: normality and sample size. Korean. J Anesthesiol. 72(4): 331-335. doi: 10.4097/kja.d.18.00292.

Korponay, C., Kosson, S, D., Decety, J., Kiehl, A. K. & Koenigs, M. (2017). Brain Volume Correlates with Duration of Abstinence from Substance Abuse in a Region-Specific and Substance-Specific Manner. Cognitive Neuroscience and Neuroimaging, 2(7), 626–635.

Małkiewicza, A. M. Małeckic, A., Toborekc, M., Szarmache, A., Winklewskie, J. P. (2020). Substances of abuse and the blood brain barrier: Interactions With physical exercise. Neuroscience and Biobehavioral Reviews, 119, 204-216.

United Nations Office on Drugs and Crime. (2021). Global overview drug demand drug Supply[Internet]. (2021) Vienna: United Nations publication.

United Nations Office on Drugs and Crime. (2021). Executive summary policy implication. Vienna: United Nations publication.

United Nations Office on Drugs and Crime. (2021). Global overview drug demand drug supply. Vienna: United Nations publication.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-08-31