ความสัมพันธ์ระหว่างความรอบรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพกับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ ในเขตพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี

ผู้แต่ง

  • สัณฐิตาพร กลิ่นทอง คณะพยาบาลศาสตร์และวิทยาการสุขภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
  • วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัย คณะพยาบาลศาสตร์และวิทยาการสุขภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
  • กิติศักดิ์ รุจิกาญจนรัตน์ คณะพยาบาลศาสตร์และวิทยาการสุขภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
  • เบญจวรรณ ดุนขุนทด คณะพยาบาลศาสตร์และวิทยาการสุขภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
  • ณฐกร นิลเนตร คณะพยาบาลศาสตร์และวิทยาการสุขภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
  • รัชดาวัลย์ จิตรพรกุลวศิน คณะพยาบาลศาสตร์และวิทยาการสุขภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
  • ประเสริฐ ศรีนวล คณะพยาบาลศาสตร์และวิทยาการสุขภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

คำสำคัญ:

ผู้สูงอายุ, คุณภาพชีวิต, ภูมิปัญญา สมุนไพร ความรอบรู้ทางสุขภาพ

บทคัดย่อ

การศึกษาแบบภาคตัดขวางนี้เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรอบรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพกับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยการคำนวณได้จำนวน 322 คน และใช้วิธีสุ่มอย่างง่าย เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ได้ค่าความตรงเชิงเนื้อหา เท่ากับ 0.93 และ 1 ตามลำดับ และได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคของแบบสอบถามความรอบรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพ และแบบสอบถามคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ เท่ากับ .92 และ .90 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ความสัมพันธ์ด้วยสถิติสหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า

  1. คุณภาพชีวิตและความรอบรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพของผู้สูงอายุโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (M=72.34, SD=12.32 และ M=64.62, SD=12.84 ตามลำดับ)
  2. ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุทุกด้านในระดับต่ำ โดยมีนัยสำคัญทางสถิติที่ p < 0.01

ดังนั้นควรหาแนวทางพัฒนาความรอบรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพ โดยเฉพาะกลุ่มผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงในการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสมุนไพรไม่ถูกวิธี โดยจัดทำโครงการที่มีประสิทธิภาพในการจัดการกับปัจจัยที่เป็นสาเหตุในบริบทของชุมชน เพื่อให้ผู้สูงอายุในพื้นที่สามารถประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นกับการดูแลสุขภาพ และเกิดคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป

References

กรมกิจการผู้สูงอายุ. (2565). สถิติผู้สูงอายุ สัญชาติไทย และ มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน ธันวาคม 2565. สืบค้นเมื่อ 25 มีนาคม 2566 จาก https://www.dop.go.th/th/know/side/1/1/1159.

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. (2563). แผนปฏิบัติการด้านผู้สูงอายุ ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2545 – 2565) ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2563. สืบค้นเมื่อ 25 มีนาคม 2566 จาก https://www.ryt9.com/s/cabt/3196538 (in Thai)

กระทรวงสาธารณสุข. (2560). แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564). สืบค้นเมื่อ 28 กันยายน 2565 จาก https://pubhtml5.com/nqgq/fvde/basic.

กฤษกร สมานทรัพย์. (2562). คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ศึกษากรณี ชมรมผู้สูงอายุบ้านหนองตาพุด ตำบลธรรมเสน อำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี. หลักสูตรปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์.

กองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข. (2561). การเสริมสร้างและประเมินของประชาชนในอำเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยา. หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต วิชาเอกการจัดการการสร้างเสริมสุขภาพ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

จักรพันธ์ เพ็ชรภูมิ. (2561). พฤติกรรมสุขภาพ: แนวคิด ทฤษฎี และการประยุกต์ใช้. พิมพ์ครั้งที่ 2. พิษณุโลก : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเรศวร.

เจษฎา นกน้อย และ วรรณภรณ์ บริพันธ์. (2560). คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดสงขลา. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์. 9(3), 94-105.

นริสา วงศ์พนารักษ์, สายสมร เฉลยกิตติ. (2557). คุณภาพชีวิต: การศึกษาในผู้สูงอายุไทย. วารสารพยาบาลทหารบก. 15(3), 64-70.

นิตยา แสงประจักษ์ และคณะ. (2562). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุ อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์. สืบค้นเมื่อวันที่ 10 สิงหาคม 2565 จาก https://li01.tci-thaijo.org/index.php/journalup/article/view/42604

ปณดา รามไพบูลย์, ระวิวรรธณ์ เจริญทรัพย์, รัชนี สรรเสริญ และพิษณุรักษ์ กันทวี. (2562). การศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการพัฒนาความรอบรู้ทางสุขภาพ ในการใช้สมุนไพรและผลิตภัณฑ์สมุนไพรของผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง อำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย. เชียงรายเวชสาร. 10(1), 81-92.

ปาจรา โพธิหัง. (2564). ความสัมพันธ์ระหว่างความรอบรู้ด้านสุขภาพกับพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคในประเทศไทย: การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.29(3), 115-130.

ปิยภรณ์ เลาหบุตร. (2557). คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในชุมชนหมู่ 7 ตำบลพลูตาหลวง อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี. (งานนิพนธ์หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา). สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา. สืบค้นเมื่อ 28 กันยายน 2565 จาก https://webopac.lib. buu.ac.th/Catalog/BibItem.aspx?BibID=b00226361

ปุญญพัฒน์ ไชยเมล์, ตั้ม บุญรอด และ วิชชาดา สิมลา. (2555). ปัจจัยที่มีผลต่อการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพเบื้องต้น. วารสารสาธารณสุขมหาวิทยาลัยบูรพา. 7(2), 25 – 37.

พเยาว์ พงษ์ศักดิ์ชาติ, ชุติมา มาลัย, นิตติยา น้อยสีภูมิ และมนัสวี จำปาเทศ. (2562). การส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพตามภูมิปัญญาท้องถิ่น. วารสารพยาบาลทหารบก. 20(3), 44 – 53.

มันโซร์ ดอเลาะ. (2559). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดชายแดนภาคใต้ กรณีศึกษา: ตําบลบาละ อําเภอกาบัง จังหวัดยะลา. (งานนิพนธ์หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา).

เยาวลักษณ์ มีบุญมาก, จิริยา อินทนา, กรรณิการ์ กิจนพเกียรติ, เพ็ญจมาศ คำธนะ และ นงณภัทร รุ่งเนย. (2562). ความรอบรู้ด้านสุขภาพของผู้สูงอายุในชุมชนกึ่งเมืองแห่งหนึ่งในจังหวัดราชบุรี. วารสารเครือข่าวยวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้. 6(พิเศษ), 129 – 141.

วัชราพร เชยสุวรรณ. (2560). ความรอบรู้ด้านสุขภาพ : แนวคิดและการประยุกต์สู่การปฏิบัติการพยาบาล. วารสารแพทย์นาวี. 44(3), 183-197.

วิริญญา เมืองช้าง. (2559). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนในอำเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยา. หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต วิชาเอกการจัดการการสร้างเสริมสุขภาพ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ศิรินันท์ สุขศรี และดาริวรรณ เศรษฐีธรรม. (2560). ความรอบรู้ด้านสุขภาพและการดูแลตนเองที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองอำนาจเจริญ จังหวัดอำนาจเจริญ. วารสารวิจัย มข. 17(4), 73-84.

สมัชชาสุขภาพ. (2561). ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ. สืบค้นเมื่อวันที่ 10 สิงหาคม 2565 จาก https://main.samatcha.org/node/72.

สัณฐิตาพร กลิ่นทอง. (2560). พฤติกรรมการใช้สมุนไพรรักษาโรคของประชาชนในจังหวัดเพชรบุรี.รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติราชภัฏเพชรบุรีวิจัยเพื่อแผ่นดินไทยที่ยั่งยืนครั้งที่7 “สหวิทยาการสู่ไทยแลนด์4.0”.มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี.

สามารถ ใจเตี้ย, ศศิกัญญ์ ผ่องชมพู, วิทญา ตันอารีย์ และเอกลักษ์ ชมพูศรี. (2563). ปัจจัยพยากรณ์การใช้สมุนไพรพื้นบ้านของผู้สูงอายุ ชุมชนสะลวง – ขี้เหล็ก อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่. วารสารวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. 13(2), 43–54.

สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. (2563). รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวัดเพชรบุรี ปี 2563. สืบค้นเมื่อ 31 สิงหาคม 2565 จาก https://phetchaburi.m-society.go.th.

สิรญา ธาสถาน, พรนภา หอมสินธุ์, รุ่งรัตน์ ศรีสุริยเวศน์ และใจเพชร กล้าจน. (2558). ผลของโปรแกรมการกำกับตนเองที่ประยุกต์การแพทย์วิถีพุทธ ต่อพฤติกรรมดูแลตนเองและระดับความดันโลหิต ในผู้ที่เสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง. วารสารสาธารณสุขมหาวิทยาลัยบูรพา. 10(1), 117-128.

สุธิดา สุทธิรักษ์. (2558). ประสิทธิผลของโปรแกรมส่งเสริมพฤติกรรมการใช้สมุนไพรเพื่อสุขภาพของผู้สูงอายุตำบลนาใต้ อำเภอบ้านนาเดิม จังหวัดสุราษฎร์ธานี. วารสารการพัฒนาสุขภาพชุมชน มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 3(3), 469-480.

สุวิมล มณีโชติ. (2559). การดูแลสุขภาพพึ่งตนตามหลักการแพทย์วิถีธรรม: กรณีศึกษาผู้ใหญ่วัยกลางคน. วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์. 36(2), 202-214.

อรนิษฐ์ แสงทองสุข. (2562). การศึกษาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในประเทศไทย กรณีศึกษา เขตกรุงเทพมหานคร ปทุมธานี และนนทบุรี. สืบค้นเมื่อ 28 กันยายน 2565 จาก http://dspace.spu.ac.th/handle/ 123456789/6672.

อังศินันท์ อินทรกำแหง, พิชชาดา สุทธิแป้น, วิริณธิ์ กิตติพิชัย, และ Ann Macaskill. (2561). Effects of Self-Management Program on Healthy Lifestyle Behaviors Among Elderly with Hypertension. วารสารพฤติกรรมศาสตร์. 13(2): 38-50. สืบค้นเมื่อ 28 กันยายน 2565 จาก https://so06.tci-thaijo.org/index.php/IJBS/article/view/98167.

Bartz, A.E. (1999). Basics Statistical Concepts. 4th ed. New Jersey: Prentice Hall.

Bloom, B.S., Hastings, J.T., and Madaus, G.F. (1971). Handbook on formative and summative

evaluation of student learning. New York: McGaw-Hill.

Bornet, M.A., Truchard E. R., Rochat E. , Pasquier J., & Monod S. (2017). Factors associated with quality of life in elderly hospitalised patients undergoing post-acute rehabilitation: a cross-sectional analytical study in Switzerland. BMJ Open. 1-8.

Daniel, W. W. (1995). Biostatistics: A foundation for analysis in health science. 5th ed. New York: John Wiley & Sosnic.

Devraj, S., D’mello, M. K. (2019). Determinants of quality of life among the elderly Health Literacy among Diabetic Patients. Diabetes Care. 31(5), 874-879.

Ishikawa, H., Takeuchi, T., & Yano, E. (2008). Measuring Functional, Communicative, and Critical Health Literacy among Diabetic Patients. Diabetes Care, 31(5), 874-879.

Klompstra, L., Ekdahl, A. W., Krevers, B., Milberg, A., & Eckerblad, J. (2019). Factors related to health-related quality of life in older people with multimorbidity and high health care consumption over a two-year period. BMC Geriatrics. 19(187), 1-8.

Oo, M. Y., Punpuing, S., Chamchan, C. (2015). Factors Affecting Quality of Life of Older People in Taungu Township, Bago Region, Myanmar. Journal of Health Research. 29(4): 235-242.

Devraj, S., D’mello, M.K. (2019). Determinants of quality of life among the elderly population in urban areas of Mangalore, Karnataka. Journal of Geriatric Mental Health. 6(2), 94-98.

Seangpraw, K., Ratanasiripong, N.T., Ratanasiripong, P. (2019). Predictors of quality of life of the rural older adults in Northern Thailand. Journal of Health Research. 33(6), 450-459.

กรมกิจการผู้สูงอายุ. (2565). สถิติผู้สูงอายุ สัญชาติไทย และ มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน ธันวาคม 2565. สืบค้นเมื่อ 25 มีนาคม 2566 จาก https://www.dop.go.th/th/know/side/1/1/1159.

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. (2563). แผนปฏิบัติการด้านผู้สูงอายุ ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2545 – 2565) ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2563. สืบค้นเมื่อ 25 มีนาคม 2566 จาก https://www.ryt9.com/s/cabt/3196538 (in Thai)

กระทรวงสาธารณสุข. (2560). แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564). สืบค้นเมื่อ 28 กันยายน 2565 จาก https://pubhtml5.com/nqgq/fvde/basic.

กฤษกร สมานทรัพย์. (2562). คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ศึกษากรณี ชมรมผู้สูงอายุบ้านหนองตาพุด ตำบลธรรมเสน อำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี. หลักสูตรปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์.

กองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข. (2561). การเสริมสร้างและประเมินของประชาชนในอำเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยา. หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต วิชาเอกการจัดการการสร้างเสริมสุขภาพ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

จักรพันธ์ เพ็ชรภูมิ. (2561). พฤติกรรมสุขภาพ: แนวคิด ทฤษฎี และการประยุกต์ใช้. พิมพ์ครั้งที่ 2. พิษณุโลก : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเรศวร.

เจษฎา นกน้อย และ วรรณภรณ์ บริพันธ์. (2560). คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดสงขลา. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์. 9(3), 94-105.

นริสา วงศ์พนารักษ์, สายสมร เฉลยกิตติ. (2557). คุณภาพชีวิต: การศึกษาในผู้สูงอายุไทย. วารสารพยาบาลทหารบก. 15(3), 64-70.

นิตยา แสงประจักษ์ และคณะ. (2562). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุ อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์. สืบค้นเมื่อวันที่ 10 สิงหาคม 2565 จาก https://li01.tci-thaijo.org/index.php/journalup/article/view/42604

ปณดา รามไพบูลย์, ระวิวรรธณ์ เจริญทรัพย์, รัชนี สรรเสริญ และพิษณุรักษ์ กันทวี. (2562). การศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการพัฒนาความรอบรู้ทางสุขภาพ ในการใช้สมุนไพรและผลิตภัณฑ์สมุนไพรของผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง อำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย. เชียงรายเวชสาร. 10(1), 81-92.

ปาจรา โพธิหัง. (2564). ความสัมพันธ์ระหว่างความรอบรู้ด้านสุขภาพกับพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคในประเทศไทย: การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.29(3), 115-130.

ปิยภรณ์ เลาหบุตร. (2557). คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในชุมชนหมู่ 7 ตำบลพลูตาหลวง อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี. (งานนิพนธ์หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา). สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา. สืบค้นเมื่อ 28 กันยายน 2565 จาก https://webopac.lib. buu.ac.th/Catalog/BibItem.aspx?BibID=b00226361

ปุญญพัฒน์ ไชยเมล์, ตั้ม บุญรอด และ วิชชาดา สิมลา. (2555). ปัจจัยที่มีผลต่อการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพเบื้องต้น. วารสารสาธารณสุขมหาวิทยาลัยบูรพา. 7(2), 25 – 37.

พเยาว์ พงษ์ศักดิ์ชาติ, ชุติมา มาลัย, นิตติยา น้อยสีภูมิ และมนัสวี จำปาเทศ. (2562). การส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพตามภูมิปัญญาท้องถิ่น. วารสารพยาบาลทหารบก. 20(3), 44 – 53.

มันโซร์ ดอเลาะ. (2559). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดชายแดนภาคใต้ กรณีศึกษา: ตําบลบาละ อําเภอกาบัง จังหวัดยะลา. (งานนิพนธ์หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา).

เยาวลักษณ์ มีบุญมาก, จิริยา อินทนา, กรรณิการ์ กิจนพเกียรติ, เพ็ญจมาศ คำธนะ และ นงณภัทร รุ่งเนย. (2562). ความรอบรู้ด้านสุขภาพของผู้สูงอายุในชุมชนกึ่งเมืองแห่งหนึ่งในจังหวัดราชบุรี. วารสารเครือข่าวยวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้. 6(พิเศษ), 129 – 141.

วัชราพร เชยสุวรรณ. (2560). ความรอบรู้ด้านสุขภาพ : แนวคิดและการประยุกต์สู่การปฏิบัติการพยาบาล. วารสารแพทย์นาวี. 44(3), 183-197.

วิริญญา เมืองช้าง. (2559). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนในอำเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยา. หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต วิชาเอกการจัดการการสร้างเสริมสุขภาพ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ศิรินันท์ สุขศรี และดาริวรรณ เศรษฐีธรรม. (2560). ความรอบรู้ด้านสุขภาพและการดูแลตนเองที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองอำนาจเจริญ จังหวัดอำนาจเจริญ. วารสารวิจัย มข. 17(4), 73-84.

สมัชชาสุขภาพ. (2561). ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ. สืบค้นเมื่อวันที่ 10 สิงหาคม 2565 จาก https://main.samatcha.org/node/72.

สัณฐิตาพร กลิ่นทอง. (2560). พฤติกรรมการใช้สมุนไพรรักษาโรคของประชาชนในจังหวัดเพชรบุรี.รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติราชภัฏเพชรบุรีวิจัยเพื่อแผ่นดินไทยที่ยั่งยืนครั้งที่7 “สหวิทยาการสู่ไทยแลนด์4.0”.มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี.

สามารถ ใจเตี้ย, ศศิกัญญ์ ผ่องชมพู, วิทญา ตันอารีย์ และเอกลักษ์ ชมพูศรี. (2563). ปัจจัยพยากรณ์การใช้สมุนไพรพื้นบ้านของผู้สูงอายุ ชุมชนสะลวง – ขี้เหล็ก อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่. วารสารวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. 13(2), 43–54.

สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. (2563). รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวัดเพชรบุรี ปี 2563. สืบค้นเมื่อ 31 สิงหาคม 2565 จาก https://phetchaburi.m-society.go.th.

สิรญา ธาสถาน, พรนภา หอมสินธุ์, รุ่งรัตน์ ศรีสุริยเวศน์ และใจเพชร กล้าจน. (2558). ผลของโปรแกรมการกำกับตนเองที่ประยุกต์การแพทย์วิถีพุทธ ต่อพฤติกรรมดูแลตนเองและระดับความดันโลหิต ในผู้ที่เสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง. วารสารสาธารณสุขมหาวิทยาลัยบูรพา. 10(1), 117-128.

สุธิดา สุทธิรักษ์. (2558). ประสิทธิผลของโปรแกรมส่งเสริมพฤติกรรมการใช้สมุนไพรเพื่อสุขภาพของผู้สูงอายุตำบลนาใต้ อำเภอบ้านนาเดิม จังหวัดสุราษฎร์ธานี. วารสารการพัฒนาสุขภาพชุมชน มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 3(3), 469-480.

สุวิมล มณีโชติ. (2559). การดูแลสุขภาพพึ่งตนตามหลักการแพทย์วิถีธรรม: กรณีศึกษาผู้ใหญ่วัยกลางคน. วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์. 36(2), 202-214.

อรนิษฐ์ แสงทองสุข. (2562). การศึกษาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในประเทศไทย กรณีศึกษา เขตกรุงเทพมหานคร ปทุมธานี และนนทบุรี. สืบค้นเมื่อ 28 กันยายน 2565 จาก http://dspace.spu.ac.th/handle/ 123456789/6672.

อังศินันท์ อินทรกำแหง, พิชชาดา สุทธิแป้น, วิริณธิ์ กิตติพิชัย, และ Ann Macaskill. (2561). Effects of Self-Management Program on Healthy Lifestyle Behaviors Among Elderly with Hypertension. วารสารพฤติกรรมศาสตร์. 13(2): 38-50. สืบค้นเมื่อ 28 กันยายน 2565 จาก https://so06.tci-thaijo.org/index.php/IJBS/article/view/98167.

Bartz, A.E. (1999). Basics Statistical Concepts. 4th ed. New Jersey: Prentice Hall.

Bloom, B.S., Hastings, J.T., and Madaus, G.F. (1971). Handbook on formative and summative

evaluation of student learning. New York: McGaw-Hill.

Bornet, M.A., Truchard E. R., Rochat E. , Pasquier J., & Monod S. (2017). Factors associated with quality of life in elderly hospitalised patients undergoing post-acute rehabilitation: a cross-sectional analytical study in Switzerland. BMJ Open. 1-8.

Daniel, W. W. (1995). Biostatistics: A foundation for analysis in health science. 5th ed. New York: John Wiley & Sosnic.

Devraj, S., D’mello, M. K. (2019). Determinants of quality of life among the elderly Health Literacy among Diabetic Patients. Diabetes Care. 31(5), 874-879.

Ishikawa, H., Takeuchi, T., & Yano, E. (2008). Measuring Functional, Communicative, and Critical Health Literacy among Diabetic Patients. Diabetes Care, 31(5), 874-879.

Klompstra, L., Ekdahl, A. W., Krevers, B., Milberg, A., & Eckerblad, J. (2019). Factors related to health-related quality of life in older people with multimorbidity and high health care consumption over a two-year period. BMC Geriatrics. 19(187), 1-8.

Oo, M. Y., Punpuing, S., Chamchan, C. (2015). Factors Affecting Quality of Life of Older People in Taungu Township, Bago Region, Myanmar. Journal of Health Research. 29(4): 235-242.

Devraj, S., D’mello, M.K. (2019). Determinants of quality of life among the elderly population in urban areas of Mangalore, Karnataka. Journal of Geriatric Mental Health. 6(2), 94-98.

Seangpraw, K., Ratanasiripong, N.T., Ratanasiripong, P. (2019). Predictors of quality of life of the rural older adults in Northern Thailand. Journal of Health Research. 33(6), 450-459.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-08-31