ปัจจัยที่่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ของอำเภอปากท่อ จังหวัดราชบุรี
คำสำคัญ:
ไวรัสโคโรนา 2019, พฤติกรรมการป้องกัน, การรับรู้บทคัดย่อ
การวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive Research) โดยการสังเกต (Observational Research) แบบภาคตัดขวาง ณ จุดเวลาใดเวลาหนึ่ง (Cross-Sectional Descriptive Research) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพื่อป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2016 ของประชาชนอำเภอปากท่อ จังหวัดราชบุรี รวมถึงการรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรค การรับรู้ความรุนแรงของการเกิดโรค การรับรู้ถึงประโยชน์ อุปสรรคของการปฏิบัติเพื่อป้องกันโรค และการรับรู้ความสามารถในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 กลุ่มตัวอย่างประชาชน อำเภอปากท่อ จำนวน 396 คน เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามที่ประกอบด้วยข้อมูล 2 ส่วนคือแบบสอบถามข้อมูลทั่วไปส่วนบุคคล การรับรู้ และแบบพฤติกรรมการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 2019 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ คือ จำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ ไคว์สแควร์ (Chi-square) สถิติ สัมประสิทธิสหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson’s Correlation)และสถิติการวิเคราะห์สมการถดถอยพหุคูณ (Multiple Linear Regression) โดยวิธี Enter
ผลการวิจัยพบว่าการศึกษาพฤติกรรมการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของประชาชนอำเภอปากท่อ จังหวัดราชบุรี
ผลการศึกษาระดับการรับรู้โอกาสเสี่ยงของการติดเชื้อโรคไวรัสโคโรนา 2019 การรับรู้ความรุนแรงของโรคไวรัสโคโรนา 2019 การรับรู้ประโยชน์ของการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 2019 และการรับรู้ต่ออุปสรรคในการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 2019 ของประชาชนอำเภอปากท่อจังหวัดราชบุรี
ผลการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล การรับรู้โอกาสเสี่ยงของการติดเชื้อโรคไวรัสโคโรนา 2019 การรับรู้ความรุนแรงของโรคไวรัสโคโรนา 2019 การรับรู้ประโยชน์ของการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 2019 และการรับรู้ต่ออุปสรรคในการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 2019 กับพฤติกรรมการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของประชาชนอำเภอปากท่อ จังหวัดราชบุรี
ผลการศึกษาอำนาจการทำนายของปัจจัยส่วนบุคคล การรับรู้โอกาสเสี่ยงของการติดเชื้อโรคไวรัสโคโรนา 2019 การรับรู้ความรุนแรงของโรคไวรัสโคโรนา 2019 การรับรู้ประโยชน์ของการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 2019 และการรับรู้ต่ออุปสรรคในการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 2019 ต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของประชาชนอำเภอปากท่อ จังหวัดราชบุรี
คำสำคัญ : ไวรัสโคโรนา 2019, พฤติกรรมการป้องกัน, การรับรู้
References
2019 สำหรับประชาชน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. (2563ข). รายงานโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19).
กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
บัญชา เกิดมณี, สุรชัย ธรรมทวีธิกุล, ญานพินิจ วชิรสุรงค์, บดินทร์ชาติ สุขบท, และสมบัติ ทีฆทรัพย์.
(2563). แนวคิดและทิศทางการแก้ปัญหาโควิด-19. วารสารก้าวทันโลกวิทยาศาสตร์, 20(1), 1-12.
ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. (2563). ข้อมูลสำหรับการป้องกัน
ตนเองจากโรค COVID-19 เอกสารเผยแพร่สำหรับประชาชน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์
การเกษตรแห่งประเทศไทย.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี. (2563). รายงานการติดเชื้อโคโรน่า 2019. HDC–Dashboard.สืบค้นจาก https://sp.hdc.moph.go.th/hdc/main/index.php.
สุรชัย โชคครรชิตไชย. (2563). โควิด-19: การระบาดระลอกใหม่ในประเทศไทยปลายปี 2563. วารสารสมาคมเวชศาสตร์ป้องกันแห่งประเทศไทย, 10(3), 1-2.
อภิวดี อินทเจริญ , คันธมาทน์ กาญจนภูมิ , กัลยา ตันสกุล และ สุวรรณา ปัตตะพัฒน์. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองคอหงส์ จังหวัดสงขลา. วารสารสภาการสาธารณสุขชุมชน ปีที่ 3 ฉบับที่2 (พฤษภาคม) – (สิงหาคม) 2564
ชาลีฟะห์ เจ๊ะแว, 2560;5ปัจจัยคัดสรรตามแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการใช้หมวกนิรภัยในการป้องกันอุบัติเหตุของนักศึกษาสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตยะลาวิทยานิพนธ์ ปริญญาศึกษาศาสตร์มหาบัญฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
สุพิชญา วงศ์วาสนา 2564 ปัจจัยผลกระทบทางลบจาก COVID-19 ส่งผลต่อความสุขในการทำงาน ของพนักงานฝ่ายการโดยสาร กรณีศึกษา บริษัท บางกอกไฟลท์เซอร์วิสเซส จำกัด (BFS) วารสารรัชต์ภาคย์ ปีที่ 15 ฉบับที่ 39 มีนาคม – เมษายน 2564 - TCI กลุ่มที่ 2 มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปี 2563-2567.
ณัฎฐวรรณ คำแสน. ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมในการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อไวรัสโควิด-19 ของประชาชนในเขตอำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี. วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน 2564
พีรยุทธ บุญปาล. 2563. ความสำเร็จในการดำเนินงานควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) และอาสาสมัครสาธารณสุขต่างชาติ (อสต.) พื้นที่ หมู่บ้านคู่ขนานชายแดนไทย-เมียนมาร์ อำเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก
ฮูดา แวหะยี. (2563). การรับรู้ความรุนแรงและพฤติกรรมการปูองกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (โควิด-19) ของวัยรุ่นในเขตต าบลสะเตงนอก อ าเภอเมือง จังหวัดยะลา. วารสารวิชาการ สาธารณสุขชุมชน ปีที่ 6 ฉบับที่ 4 ตุลาคม – ธันวาคม 2563
ระวิ แก้วสุกใส1* , พรทิวา คงคุณ1 , บุญยิ่ง ทองคุปต์1 , ลุตฟี สะมะแอ1 และ สกุณา บุญนรากร1 . ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้และการรับรู้กับพฤติกรรมการดำเนินชีวิตแบบวิถีใหม่ เพื่อการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของประชาชนจังหวัดนราธิวาส. วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้ ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
สุรัยยา หมานมานะ, โสภณ เอี่ยมศิริถาวร, สุมนมาลย์ อุทยมกุล 2563 โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)วารสารสถาบันบำราศนราดูร ปีที่ 14 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2563
Thotsaporn Jirakitwiboon. (2015). The Quality of Working Life and Processes That Able to Motivate Employees in Amata Nakorn Industrial Estate. Master of Business Administration. Bangkok University.
Becker, M. H. (1974). The Health Belief Model and Sick Role Behavior. Health Education Monographs, 2, 409-419
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
1. บทความหรือข้อคิดเห็นใด ๆ ที่ปรากฏในวารสารศาสตร์สาธารณสุขและนวัตกรรม ที่เป็นวรรณกรรมของผู้เขียน บรรณาธิการ ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย
2. บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของ วารสารศาสตร์สาธารณสุขและนวัตกรรม