อันตรายของการเสพติดสมาร์ทโฟน
Abstract
บทความนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับสาเหตุ อาการ ผลกระทบของการเสพติดสมาร์ทโฟน และแนวทางการแก้ไข การเสพติดสมาร์ทโฟนมีสาเหตุสำคัญอยู่ 5 ปัจจัย คือ การแสดงออกถึงตัวตน อิทธิพลทางสังคม อัตราการใช้งาน ความหลากหลายในการใช้งาน และความพึงพอใจตนเอง อาการโดยทั่วไปของการติดสมาร์ทโฟน ได้แก่ วิตกกังวล กระวนกระวายใจเมื่อหาสมาร์ทโฟนไม่เจอ พกสมาร์ทโฟนติดตัวตลอดเวลา กลัวสมาร์ทโฟนหาย หมกมุ่นอยู่กับการดูสื่อสังคมออนไลน์ ใช้โปรแกรมต่าง ๆ แทนการพูดคุย มีการใช้สมาร์ทโฟนในทุก ๆ ที่ อาการเสพติดสมาร์ทโฟนขั้นรุนแรง ได้แก่ กลัวการตกกระแส หยิบโทรศัพท์ขึ้นมาดูทันทีเมื่อได้ยินเสียง ไม่สนใจคนรอบข้าง รู้สึกไปเองว่าโทรศัพท์สั่นตลอดเวลา ขาดโทรศัพท์เหมือนจะอยู่ไม่ได้ การเสพติดสมาร์ทโฟนส่งผลกระทบต่อสุขภาพของผู้ใช้และเสี่ยงต่อการเป็นโรคต่าง ๆ ได้แก่ ตาแห้ง นอนไม่หลับ นิ้วล็อค โรคอ้วน โรคซึมเศร้า แนวทางการแก้ปัญหาการติดสมาร์ทโฟนก็คือ ยอมรับว่าตัวเองติดสมาร์ทโฟน และทำการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของตนเอง เช่น การลดระยะเวลาใช้งานสมาร์ทโฟนลง ดังนั้น ผู้ใช้สมาร์ทโฟนจึงควรสำรวจตนเองว่ามีอาการเสพติดสมาร์ทโฟนหรือไม่ เพื่อป้องกันการเสพติดสมาร์ทโฟนและผลกระทบที่จะเกิดขึ้นตามมา
คำสำคัญ : สมาร์ทโฟน การเสพติดสมาร์ทโฟน การใช้สมาร์ทโฟน
Downloads
References
437/ Doi: 10.1186/s12886-016-0364-4.
2. Lee S, Kang H, Shin G. Head flexion angle while using a smartphone. Ergonomics. 2015;58(2):220-6.
3. Lemola S, Perkinson-Gloor N, Brand S, Dewald-Kaufmann JF, Grob A. Adolescents' electronic media use at night, sleep disturbance, and depressive symptoms in the smartphone age.
J Youth Adolesc. 2015;44(2):405-18.
4. ไพรัตน์ พงศ์พานิชย์. “โนโมโฟเบีย” โรคระบาดที่เกาหลีใต้. ประชาชาติธุรกิจออนไลน์ [อินเทอร์เน็ต]. 2557 [ปรับปรุงเมื่อ 9 พฤษภาคม 2557; เข้าถึงเมื่อ 1 สิงหาคม 2560]. เข้าถึงจาก: http://m.prachachat.net/
news_detail.php?newsid=1399607115
5. Haug S, Castro RP, Kwon M, Filler A, Kowatsch T, Schaub MP. Smartphone use and smartphone addiction among young people in Switzerland. J Behav Addict. 2015;4(4):299–307.
6. สำนักงานสถิติแห่งชาติ. สรุปผลที่สำคัญ สำรวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2559. กรุงเทพมหานคร: สำนักงาน; 2555.
7. เปิดพฤติกรรมใช้สื่อ คนดูทีวี-สมาร์ทโฟนพุ่ง. ประชาชาติธุรกิจออนไลน์ [อินเทอร์เน็ต]. 2559 [ปรับปรุงเมื่อ 16 สิงหาคม 2559; เข้าถึงเมื่อ 1 สิงหาคม 2560]. เข้าถึงจาก: https://www.prachachat.net/news_
detail.php?newsid=1471244869
8. สำรวจชี้ ชาวจีนใช้สมาร์ทโฟนรวมวันละ 3 ชม. มากอันดับสองรองจากบราซิล. ผู้จัดการออนไลน์ [อินเทอร์เน็ต]. 2560 [ปรับปรุงเมื่อ 29 มิถุนายน 2560; เข้าถึงเมื่อ 2 สิงหาคม 2560]. เข้าถึงจาก: https://manager.co.th/China/ViewNews.aspx?NewsID=9600000066238
9. ชานนท์ ศิริธร. การศึกษาการบริโภคสมาร์ทโฟนของกลุ่มวัยรุ่นด้วยทฤษฎีวิพากษ์. วารสารการสื่อสารและการจัดการ นิด้า. 2558;1(3):144-71.
10. Young KS.Internet addiction: The emergence of a new clinical disorder. Cyberpsychology & Behavior. 1996;1(3):237-44.
11. Chóliz M. Mobile-phone addiction in adolescence: The test of mobile phone dependence (TMD). Prog Health Sci. 2012;2(1):33-44.
12. Bragazzi NL, Del Puente G. A proposal for including nomophobia in the new DSM-V. Psychol Res Behav Manag. 2014;7:155-60.
13. Carroll BA, Ahuvia AC. Some antecedents and outcomes of brand love. Marketing Lett. 2006;17:79-89.
14. Auter PJ. Portable social groups: Willingness to communicate, interpersonal communication gratifications, and cell phone use among young adults. Int J Mobile Communications. 2007;5(2):139-55.
15. Takao M, Takahashi S, Kitamura M. Addictive personality and problematic mobile phone use. Cyberpsychol Behav. 2009;12(5):501-7.
16. Lepp A, Barkley JE, Karpinski AC. The relationship between cell phone use, academic performance, anxiety, and satisfaction with life in college students. Computers in Human Behavior. 2014;31:343-50.
17. Carbonell X, Oberst U, Beranuy M. The cell phone in the twenty-first century: A risk for addiction or a necessary tool. In: Miller PM, Blume AW, Kavanagh DJ, Kampman KM, Bates ME, Larimer ME, et al, editors. Principles of addiction: Comprehensive addictive behaviors and disorders. Volume 1. USA: Academic Press; 2013. pp. 901-9.
18. Typeform. Welcome to smartphone addiction Test Facility #746 [Internet]. [cited 2018
Sep1]. Available from: https://24hourthumbsup.typeform.com/to/a2FDiy
19. วิมลจันทร์ วุฒิคงสมบัติ. รู้จักโรค โนโมโฟเบีย (nomophobia) โรคสุดฮิตของคนใช้สมาร์ทโฟน [อินเทอร์เน็ต]. 2558 [ปรับปรุงเมื่อ 7 สิงหาคม 2558; เข้าถึงเมื่อ 12 สิงหาคม 2560]. เข้าถึงจาก:http://www.bangkokhealth.com/health/article/รู้จักโรค-โนโมโฟเบีย-(nomophobia)-โรคสุดฮิตของคนใช้สมาร์ทโฟน-2346
20. บุญสรอย บุญเอื้อ. โรคติดโทรศัพท์มือถือ [อินเทอร์เน็ต]. 2558 [สร้างเมื่อ 30 กันยายน 2558; เข้าถึงเมื่อ 12 สิงหาคม 2560]. เข้าถึงจาก: http://www.ictc.ops.go.th/index.php/it-action/2015-01-28-10-01-47/270-2015-08-31-01-27-44
21. รามาแชนแนล. “โนโมโฟเบีย” โรคกลัวการขาดมือถือ [อินเทอร์เน็ต]. 2560 [สร้างเมื่อ 22 มีนาคม 2559; เข้าถึงเมื่อ 12 สิงหาคม 2560]. เข้าถึงจาก: http://med.mahidol.ac.th/ramachannel/
old/index.php/knowforhealth22032559/
22. สัญญาณบ่งชี้ว่าคุณติดสมาร์ทโฟนแล้ว [อินเทอร์เน็ต]. 2560 [เข้าถึงเมื่อ 12 สิงหาคม 2560]. เข้าถึงจาก: https://th.theasianparent.com/สัญญาณบ่งชี้ว่าคุณหรือลูกคุณติดสมาร์ทโฟน/
23. วิจิตรา ประยูรวงษ์. โรคติดโทรศัพท์มือถือ [อินเทอร์เน็ต]. 2557 [เข้าถึงเมื่อ 13 สิงหาคม 2560]. เข้าถึงจาก: http://library2.parliament.go.th/ejournal/content_bk/2014/book_jun2014.pdf
24. Kuss DJ, Griffiths MD. Online social networking and addiction—a review of the psychological literature. Int J Environ Res Public Health. 2011;8(9):3528–52.
25. Demi̇rci̇ K, Akgönül, M, Akpinar A. Relationship of smartphone use severity with sleep quality, depression, and anxiety in university students. J Behav Addict. 2015;4(2):85–92.
26. Kwon M, Lee JY, Won WY, Park JW, Min JA, Hahn C, et al. Development and validation of
a smartphone addiction scale (SAS). Plos One. 2013;8(2):e56936.
27. İnal EE, Demİrcİ K, Çetİntürk A, Akgönül M, Savaş S. Effects of smartphone overuse on hand function, pinch strength, and the median nerve: smartphone overuse. Muscles Nerve. 2015;52(2):183-8.
28. Hwang KH, Yoo YS, Cho OH. Smartphone overuse and upper extremity pain, anxiety, depression, and interpersonal relationships among college students. The Journal of the Korea Contents Association. 2012;12(10):365–75.
29. มหาวิทยาลัยมหิดล ศูนย์บริหารจัดการความเสี่ยง. 4 อันตรายจากสมาร์ทโฟน และ 4 วิธีป้องกัน [อินเทอร์เน็ต]. 2554 [เข้าถึงเมื่อ 14 สิงหาคม 2560]. เข้าถึงจาก: http://www.op.mahidol.ac.th/orau/
index.php/articles/63Tips/203-4-dangers-of-smart-phones-and-the-four-methods.html
30. วิชัย เทียนถาวร. สังคม”ก้มหน้า” [อินเทอร์เน็ต]. 2560 [สร้างเมื่อ 25 พฤษภาคม 2559; เข้าถึงเมื่อ 15 สิงหาคม 2560]. เข้าถึงจาก: https://www.matichon.co.th/news/147645
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะ
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว