Behavior in Prevention of Complications of Diabetic Patients in a Health Promoting Hospital, Bang Phli District, Samutprakan Province
Keywords:
behavior in prevention of complications, diabetic patientsAbstract
The major purpose of this descriptive study was to describe the knowledge about diabetes mellitus and behavior in prevention of complications of diabetic patients in a health promoting hospital, Bang Phli District, Samutprakan province. In addition, the associated between knowledge about diabetes mellitus and preventing of complications behavior of diabetics was also examined. One hundred and fifty diabetic patients who received health services were systematic randomly recruited in a health promoting hospital. Data were obtained by using questionnaires and analyzed by percentage, mean, standard deviation and chi square. The results showed that knowledge about diabetic was in a moderate level whereas the behaviors in prevention of complications of diabetes patients were in a high level. It was also found that food control, physical activities, self-care while illness, medications, and prevention of complications were in a high level, whereas the stress management was in a moderate level. The knowledge about diabetes mellitus had statistical significant relationship (p-value < 0.05) with the behavior in prevention of complications of diabetic patients in the health promoting hospital.
Downloads
References
(10 กันยายน 2558)
กฤษณา คำลอยฟ้า. (มกราคม-มิถุนายน 2554) “พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู้ป่วยโรคเบาหวานในคลินิคโรคเบาหวาน โรงพยาบาลแก้วสนามนาง อำเภอแก้วสนาม จังหวัด
นครราชสีมา” วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครราชสีมา. 17 (1) หน้า 17-30.
กุสุมา กังหลี. (กันยายน-ธันวาคม 2557) “ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้เป็นเบาหวานชนิดที่สองโรงพยาบาลพระมงกุฏเกล้า” วารสารพยาบาลทหารบก. 15 (3)
หน้า 256-268.
ขวัญใจ ศุกรนันทน์. (พฤษภาคม-มิถุนายน 2555) “ปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติในการอภิบาลตนเองของผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงในเขตเมือง” วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 31 (3) หน้า 237-246.
จิราพร เดชมา, วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัย และวิชชุดา กิจธรธรรม. (2557) “การศึกษาปัจจัยทำนายภาวะแทรกซ้อนให้ผู้เป็นเบาหวานในชุมชนภายใต้ทฤษฏีการพยาบาลของคิง” วารสารพยาบาล
สาธารณสุข. 27 (2) หน้า 63-80.
ฉายศรี สุพรศิลป์ชัย. (2552) “แนวโน้มและยุทธศาสตร์การจัดการเบาหวาน : บทเรียนจากต่างประเทศสู่ประเทศไทย” ใน การจัดการเบาหวานแบบบูรณาการ. หน้า 24-27. กรุงเทพมหานคร :
สหพัฒนไพศาล.
ณัฐพงศ์ โฆษชุณหนันท์. (2556) “ระบาดวิทยาปัญหาโรคเท้าของผู้ป่วยเบาหวานในประเทศไทย” ใน ตำราการป้องกันและรักษาโรคเท้าในผู้ป่วยโรคเบาหวาน. หน้า 13-20. เชียงใหม่ : ร้าน
ทริค ธิงค์.
ดารารัตน์ อุ่มบางตลาด. (2557) “ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับต่อผลการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคเบาหวานและ/หรือความดันโลหิตสูงที่มารับบริการที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
เชียงรากน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา” สมาคมเวชศาสตร์ป้องกันแห่งประเทศไทย. 4 (3) หน้า 194-207.
ทัศนีย์ เทิดจิตไพศาล และคณะ. (2558) “พฤติกรรมการควบคุมระดับนํ้าตาลในเลือดของผู้ป่วยโรคเบาหวานในกลุ่มเสี่ยงโรงพยาบาลแห่งหนึ่ง ในจังหวัดสมุทรปราการ” ใน รายงานการประชุม
วิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 6. หน้า 260-271. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
เทพ หิมะทองคำ. (2552) “ทิศทางการพัฒนาระบบดูแลเบาหวานที่มีประสิทธิภาพ” ใน การจัดการเบาหวานแบบบูรณาการ. หน้า 18-21 กรุงเทพมหานคร : สหพัฒนไพศาล.
บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธ์. (2553) สถิติวิเคราะห์เพื่อการวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร : เรือนแก้วการพิมพ์.
ประคอง กรรณสูตร. (2525) สถิติประยุกต์สำหรับครู. กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช.
พุทธรักษ์ ดีสิน. (มีนาคม-มิถุนายน 2557) “การพัฒนาแนวทางการดำเนินงานแก้ปัญหาโรคเบาหวานแบบบูรณาการการมีส่วนร่วม อำเภอท่าคันโท จังหวัดกาฬสินธุ์” วารสารวิจัยและพัฒนา
ระบบสุขภาพ. 7 (1) หน้า 41-48.
วีรศักดิ์ ศรินนภากร. (2557) การดูแลผู้ป่วยเบาหวานที่ยากต่อการรักษา. กรุงเทพมหานคร : กรุงเทพ เวชสาร.
วิไล อ่อนศิลา. (2555) เบาใจไม่เป็นเบาหวาน. กรุงเทพมหานคร : พิมพ์ดีการพิมพ์.
วิเชียร เกตุสิงห์. (2538) “ค่าเฉลี่ยกับการแปลความหมาย : เรื่องง่ายๆ ที่บางครั้งก็พลาดได้” ข่าวสารการวิจัยศึกษา. 1 (3) หน้า 8-11.
สุทิน ศรีอัชฎาพร. (2548) “บทที่ 1 การแบ่งชนิดและพยาธิกำเนิดของโรคเบาหวาน” ใน โรคเบาหวาน. หน้า 1-19. กรุงเทพมหานคร : เรือนแก้วการพิมพ์.
อมรรัตน์ ภิรมย์ชม และอนงค์ หาญสกุล. (ตุลาคม 2554-มีนาคม 2555) “พฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ชนิดที่ 2 ในอำเภอหนองบัวละเหว จังหวัดชัยภูมิ” สำนักงานควบคุมโรค
ที่ 6 จังหวัดขอนแก่น. 19 (1) : หน้า 1-10.
อรพินท์ สีขาว. (2558) การจัดการโรคเบาหวาน : มิติของโรคและบทบาทพยาบาล. กรุงเทพมหานคร : เอ็มแอนด์เอ็มเลเซอร์พรินต์.
อำพล จินดาวัฒนะ และคณะ. (2554) “การจัดการระบบสุขภาพและระบบบริการสุขภาพ” ใน ระบบสุขภาพและการจัดการ. หน้า 6-1-6-117. พิมพ์ครั้งที่ 3. นนทบุรี : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัย
สุโขทัยธรรมาธิราช.
อุทัยวรรณ สุกิมานิล. (2548) การบริการปฐมภูมิ. นนทบุรี : โครงการสวัสดิการวิชาการ สถาบันพระบรมชนก.
Brunisholz, D Kimberly el al. (November 2014) “Diabetes self-management education improves quality of care and clinical outcomes determined by a diabetes bundle
measure” Journal of Multidisciplinary Healthcare. 2014 (7) page 533-542.
Mohammad, Asif. (2014) “The prevention and control the type-2 diabetes by changing lifestyle and dietary pattern” J Educ Health Promot. [Online] Available : http://
www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC3977406/ (20 February 2016)
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะ
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว