Dementia Syndrome in the Elderly: Nursing Care and Caring for Relatives Caregiver
Abstract
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอองค์ความรู้ ทางการพยาบาล วิธีการปฏิบัติการพยาบาล ผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อมและเสนอแนะวิธีการดูแลญาติผู้ดูแล ญาติผู้ดูแลคือบุคคลสำคัญที่ต้องรับภาระการดูแลอย่างหนักและต่อเนื่อง และเป็นผู้ที่ได้รับผลกระทบด้านลบทั้งร่างกาย จิตใจ และหน้าที่การงาน ผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อมจะมีความผิดปกติด้านการรับรู้ การรู้คิด ด้านความจำ การใช้ภาษา การตัดสินใจ การเข้าสังคม และการแสดงออกทางพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม ในระยะสุดท้ายของโรค ผู้สูงอายุกลุ่มนี้ จะนอนนิ่งไม่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าใด ๆ ตลอดการดำเนินโรคของผู้สูงอายุญาติจะต้องรับผิดชอบดูแลความปลอดภัยตามอาการผิดปกติที่เกิดขึ้น และให้การดูแลแบบพึ่งพิงเมื่อภาวะสมองเสื่อมเข้าสู่ระยะสุดท้าย พยาบาลจึงมีบทบาทสำคัญที่ต้องร่วมดูแลและต้องออกแบบการใช้ความรู้และถ่ายทอดไปยังญาติผู้ดูแล เพื่อให้การดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อมอย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้น พยาบาลจึงจำเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย สาเหตุ อาการและอาการแสดง ผลกระทบต่อผู้ดูแล แนวทางบำบัดทางการพยาบาลผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อม และวิธีการดูแลญาติผู้ดูแลผู้สูงอายุกลุ่มดังกล่าว เพื่อให้เกิดผลลัพธ์ที่มีประสิทธิภาพสูงสุดต่อผู้สูงอายุและผู้ดูแล
Downloads
References
2. Alzheimer’s Society. Fix Dementia Care: Hospitals[Internet].2016 [cited 2017 March 28]. Available from https://www.alzheimers.
org.uk/fixdementiacare
3. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์. สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2552. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิสถาบันวิจัยและการพัฒนาผู้สูงอายุไทย. 2553.
4. วิชัย เอกพลากร.(บรรณาธิการ). (2557). รายงานการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 5 พ.ศ. 2557. นนทบุรี:สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข.
5. สุวิทย์ เจริญศักดิ์.อาการทางจิตเวชในภาวะสมองเสื่อมที่พบ Lewy bodies และโรคพาร์กินสันที่มีภาวะสมองเสื่อมร่วมด้วย.วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย. 2555;57(3):259-70.
6. Kalaria, RN., Maestre, GE., Arizaga, R., Friedland, RP., Galasko, D., Hall, K., et al. Alzheimer's disease and vascular dementia in developing countries: prevalence, management, and risk factors. Lancet Neurology. 2008;7:812-26.
7. กานดา วรคุณพิเศษและ ศิริพันธ์ สาสัตย์. ผลของโปรแกรมการจัดสิ่งแวดล้อมที่บ้านร่วมกับการผ่อนคลายกล้ามเนื้อ แบบก้าวหน้าต่อภาวะเครียดของผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อม. วารสารเกื้อการุณย์. 2558;22(1):82-97.
8. Alzheimer’s Disease Internationa.Dementia in the Asia Pacific Region [Internet].2014 [cited 2017 April 7]. Available from https://www.Dementia-Asia-Pacific-2014.pdf
9. วีระศักดิ์ เมืองไพศาล. พฤฒาวิทยาและเวชศาสตร์ผู้สูงอายุสำหรับการดูแลผู้ป่วยสูงอายุขั้นต้น.กรุงเทพมหานคร: ห้างหุ้นส่วนจำกัด ภาพพิมพ์. 2560.
10. Ross, GW., Bowen, JD. The diagnosis and differential diagnosis of dementia. Med Clin North Am. 2002;86(3):455-76.
11. ศรัณย์ นันทอารี.(2554).การเดินผิดปกติในผู้สูงอายุ และภาวะน้ำเกินในโพรงสมอง[อินเตอร์เน็ต ].2554 [เข้าถึงเมื่อวันที่ 26 มี.ค.2560]. เข้าถึงได้จาก:https://www.si.mahidol.ac.th/sidoctor/e-pl/articledetail. asp?id=887
12. Ross, WP., Leonel, TT., and Michael, DG. Diagnosis and treatment of rapidly progressive dementias. Neurol Clin Pract. 2012;2(3):187–200.
13. Reisberg, B., Ferris, SH., Deleon, MJ., and Crook T. The global deterioration scale for assessment of primary degenerative dementia. American Journal of Psychiatry. 1982; 139(9):1136-9.
14. Ross, C., Beattie, E., Caring for someone with Dementia: The Economic , Social and Health Impacts of Caring and Evidence based support for careers. A Report prepared for Alzheimer’s Australia: Princeton University Press.2015.
15. Goren, A., William, M., Kristin, KW., Tomomi, N., and Kaname U.Impact of caring for persons with Alzheimer’s disease or dementia on caregivers’ health outcomes: findings from a community based survey in Japan. BMC Geriatrics. 2016;16(10 June 2016):122.
16. สถาบันประสาทวิทยา กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม
พิมพ์ครั้งที่ 2. นนทบุรี: บริษัท ธนาเพรส จำกัด.2551.
17. Hogan, DB., Bailey, P., Black S. Diagnosis and treatment of dementia: 4. Approach to management of mild to moderate dementia. CMAJ. 2008;179:787-93.
18. นิตยา น้อยสีภูมิ,และศิริพันธุ์ สาสัตย์.การมีชีวิตอยู่กับภาวะสมองเสื่อมระยะเริ่มต้นของผู้สูงอายุ: การศึกษารายกรณีเชิงคุณภาพ.วารสารพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2557;26(2) :99-110 .
19. Betty, JA., Gail, BL., Mary, BF. Nursing Diagnosis Handbook.tenth edition [E-book]. 2014[cited 2017 March 24]. Available from https://evolve.elsevier.com
20. ปิติพร สิริทิพากร.บทบาทพยาบาลในการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อมและผู้ดูแล. วารสารพยาบาล. 2557;63(4):12-9.
21. นิตยา น้อยสีภูมิ,และศิริพันธุ์ สาสัตย์.การมีชีวิตอยู่กับภาวะสมองเสื่อมระยะเริ่มต้นของผู้สูงอายุ: การศึกษารายกรณีเชิงคุณภาพ.วารสารพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2557;26(2):99-110 .
22. รัชนี นามจันทรา. การฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยที่มีภาวะสมองเสื่อม. วารสาร มฉก.วิชาการ. 2553;14(27):137-50.
23. Aguirre, E., Woods, RT., Spector, A., Orell, M. Cognitive stimulation for dementia: a systematic review of the evidence of effectiveness from randomized controlled trials. Ageing ResRev. 2013;12(1):253-62.
24. Muangpaisan, W., Praditsuwan, R., Assanasen, J., Srinonprasert, V., Assantachai, P., Intalapaporn, S., et al. Caregiver burden and needs of dementia caregivers in Thailand: A cross-sectional study.Journal of Medical Association of Thailand. 2010;93(5):601-7.
25. ชัชวาล วงค์สารี.ผลกระทบหลังการเกิดภาวะสมองเสื่อมกับผู้สูงอายุในประเทศไทย.วารสารมหาวิทยาลัยคริสเตียน.2560; 23(4): 680-689.
26. สุทธิศรี ตระกูลสิทธิโชค, และอาทิตยา สุวรรณ.ผลของโปรแกรมการกระตุ้นการรู้คิดต่อความสามารถในการรู้คิด และความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวัน ในผู้สูงอายุที่เสี่ยงหรือมีภาวะสมองเสื่อม.วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย. 2559;9(2):145-58.
27. บรรลุ ศิริพานิช.สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2558. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย. 2559.
28. ชัชวาล วงค์สารี.สถานการณ์ของผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อมใน ประเทศไทย:ประเด็นและแนวโน้มการดูแลทางการพยาบาล. ฉบับ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย. 2561;12(1):48-58.
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะ
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว