Environmental Impact form Water Quality Problems and Suggestions in Surveillance Activity: A Case Study Li Watershed, Lumphun Province
Keywords:
Environmental impact, water quality, surveillance activity, Li watershedAbstract
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมจากปัญหาคุณภาพน้ำและเสนอแนะกิจกรรมการฝ้าระวังผลกระทบสิ่งแวดล้อมจากคุณภาพน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำลี้ จังหวัดลำพูน ใช้รูปแบบการศึกษาแบบผสานวิธี กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยประชาชน จำนวน 323 ครัวเรือน และผู้มีส่วนได้เสียในพื้นที่ลุ่มน้ำลี้ จำนวน 12 คน รวบรวมข้อมูลโดยการวิจัยเอกสาร การใช้แบบสอบถาม การสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง และการสัมมนาเชิงปฏิบัติการของผู้มีส่วนได้เสีย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา
ผลการศึกษา พบว่า คุณภาพน้ำบริเวณต้นน้ำมีแนวโน้มการปนเปื้อนของโคลิฟอร์มทั้งหมดและแบคทีเรียในรูปฟีคลอโคลิฟอร์ม ประชาชนมีการใช้ประโยชน์แม่น้ำลี้โดยรวมระดับน้อย (ค่าเฉลี่ย = 1.76 ± 0.83) แต่อย่างไรก็ตามประชาชนยังมีระดับคุณภาพชีวิตโดยรวมระดับมาก (ค่าเฉลี่ย = 3.81 ± 0.48)
ทั้งนี้ผู้มีส่วนได้เสียเสนอแนะกิจกรรมเพื่อแสวงหากระบวนการมีส่วนร่วมในการเข้าถึงการใช้ประโยชน์แม่น้ำลี้ที่เท่าเทียมและการเสริมสร้างองค์ความรู้การเฝ้าระวังโรคที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพน้ำเสื่อมโทรม
Downloads
References
2. Tornqvist R, Jarsjo J, Karmov B. Health risks from large-scale water pollution: trends in central asia. Environ Int. 2011;37:435-42.
3. สุภัทรา ผาคำ, วนิดา วิลาชัย, กัญจน์ ศิลป์ประสิทธ, ศิริกุล ธรรมจิตรสกุล. การศึกษาโรคที่มีน้ำเป็นสื่อจำแนกตามพฤติกรรมการใช้น้ำของประชาชนในชุมชน หมู่ที่ 7 ตำบลบางลูกเสือ อำเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก. วารสารวิทยาศาสตร์สุขภาพ. 2558;9(2):17–23.
4. ศิริพล กำแพงทอง,บุญจง ขาวสิทธิวงษ์. การเฝ้าระวังคุณภาพน้ำในแม่น้ำเจ้าพระยา. วารสารวิจัยรำไพพรรณี. 2559;10(1):5–16.
5. อโนดาษ์ รัชเวท, สุรศักดิ์ นุ่มมีศรี. การจัดการมลพิษทางน้ำโดยวิธีการมีส่วนร่วมของชุมชนในพื้นที่ลุ่มน้ำปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน. วารสารการจัดการสิ่งแวดล้อม. 2558;11(1):20-37.
6. สามารถ ใจเตี้ย. ผลกระทบทางสังคมจากความเสื่อมสภาพของแม่น้ำลี้ จังหวัดลำพูน. วารสารมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 2557;33(6):370–76.
7. สถาบันวิจัยสังคม. โครงการจัดทำร่างแผนจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมฉบับประชาชน: กรณีศึกษาจังหวัดลำพูน. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2560.
8. สามารถ ใจเตี้ย, ชวลิต วโรดมรังสิมันตุ์, ถาวร มาต้น, พีรญา อึ้งอุดรภักดี. คุณภาพชีวิตและข้อเสนอแนะเชิง
นโยบายเพื่อลดผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตจากความเสื่อมสภาพของแม่น้ำลี้ จังหวัดลำพูน. วารสารการจัดการ
สิ่งแวดล้อม. 2558;11(1):38-51.
9. หน่วยศึกษาและเฝ้าระวังมลพิษทางน้ำ. รายงานสรุปผลการศึกษาพื้นที่และแหล่งน้ำที่เสี่ยงต่อการเกิดมลพิษทาง
น้ำในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร: กรีนพีชเอเชียตะวันออกเฉียงใต้; 2552.
10. องค์กรสัตว์ป่าโลกสากล ประเทศไทย. โครงการฟื้นฟูพื้นที่ชุ่มน้ำแม่น้ำสงครามตอนล่าง [อินเทอร์เน็ต]. 2560
[เข้าถึงเมื่อ 20 มกราคม 2561]. เข้าถึงจาก: https://www.wwf.or.th/what_we_do/wetlands_and_
production_landscape/projectsall/bkl/
11. Daniel WW. Biostatistics: basic concepts and methodology for the health sciences. 9thed. New York: John Wiley & Sons; 2010.
12. ส่วนเฝ้าระวังและเตือนภัย. (2560). ฐานข้อมูลคุณภาพน้ำ [อินเทอร์เน็ต]. 2560 [เข้าถึงเมื่อ 2 สิงหาคม 2560]. เข้าถึงจาก. https://www.reo01.mnre.go.th/th/information/more/358
13. Keeves JP. Education research methodology and measurement: an international handbook. Oxford: Pagman; 1988.
14. Cronbach LJ. coefficient alpha and the internal Structure of tests. Psychometrika. 1951;16:297–334.
15. ดารุณี จงอุดมการณ์, บัวพันธ์ พรมพักพิง, เกษราภรณ์ คลังแสง, อุทัยทิพย์ จันทร์เพ็ญ. เปรียบเทียบคุณภาพชีวิตและความอยู่ดีมีสุขของครอบครัวยากจนในพื้นที่ใกล้เมืองและไกลเมือง. วารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพ. 2553;33(3):40–51.
16. Morse J, Field P. Nursing research: the application of qualitative approaches. London: Chapman and Hall; 1996.
17. Matthew MB, Michael AH. Qualitative data analysis: an expanded sourcebook. 2 nd ed. California: SAGE; 1994.
18. กมล หอมกลิ่น, โสวัตรี ณ ถลาง, วิพักตร์ จินตนา. การปรับตัวทางวัฒนธรรมของชุมชนหลังการสร้างฝายลำโดมใหญ่. วารสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. 2556;39(2):174–85.
19. Geist J. Integrative freshwater ecology and biodiversity conservation. Eco Indic. 2011;11(6):1507–16.
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะ
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว