บทบาทของพยาบาลในการส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนของผู้ดูแลในการป้องกัน โรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก
คำสำคัญ:
โรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก, การป้องกันโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก, การรับรู้สมรรถนะแห่งตน, บทบาทพยาบาลบทคัดย่อ
เด็กเป็นบุคคลที่สำคัญของครอบครัว และเป็นกำลังสำคัญของประเทศในอนาคต จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องให้ความสำคัญในการป้องกันโรคที่อาจเกิดขึ้น เนื่องจากในเด็กมีการเจริญเติบโตทางด้านร่างกายและระบบภูมิคุ้มกันยังทำงานไม่สมบูรณ์ จึงมีโอกาสเกิดโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจได้ง่าย หากเกิดการเจ็บป่วย อาจส่งผลกระทบต่อตัวเด็กทั้งในด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และพัฒนาการ นอกจากนี้หากผู้ปกครองดูแลไม่เหมาะสมขณะเจ็บป่วย อาจส่งผลให้เกิดการเจ็บป่วยเรื้อรัง ความพิการ หรืออาจเสียชีวิตได้ ดังนั้น บทบาทของพยาบาลในการส่งเสริมให้ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลให้มีการรับรู้สมรรถนะแห่งตน โดยการได้เรียนรู้จากแหล่งต่าง ๆ ได้แก่ การให้คำแนะนำและชักจูงด้วยคำพูด การสังเกตตัวแบบและประสบการณ์ของผู้อื่น การประเมินทางสภาพสรีรวิทยาและการกระตุ้นทางอารมณ์ รวมทั้งการประสบความสำเร็จด้วยตนเอง จะช่วยเสริมสร้างความเชื่อมั่นในการดูแลบุตรเพื่อป้องกันโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจอย่างถูกวิธี อันจะนำไปสู่การมีสุขภาพที่ดี มีการเจริญเติบโตและมีพัฒนาการที่สมวัย เป็นทรัพยากรที่มีคุณภาพของประเทศชาติต่อไป
References
กรมควบคุมโรค. (2564). แนวทางการตรวจวินิจฉัย รักษา และป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี ประเทศไทย ปี 2564/2565. กองโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
กองโรคติดต่อทั่วไป. (2566). สถานการณ์โรคติดต่อในเด็ก ปี 2566 5 โรคที่สำคัญ. กลุ่มงานโรคติดต่อในเด็ก กองโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. (2563). คู่มือการสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพจิตวัยรุ่นในสถานการณ์โควิด-19. กองส่งเสริมและพัฒนาการสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.
จารุวรรณ แหลมไธสง. (2559). ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการป้องกันโรคติดเชื้อทางเดินหายใจของผู้ดูแลเด็กปฐมวัยในศูนย์เด็กเล็ก กรุงเทพมหานคร. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยบูรพา]. Burapha University Research Information. https://buuir.buu.ac.th/bitstream/1234567890/11615/1/54920138.pdf
จุฑาทิพย์ นามม่อง, ณัชนันท์ ชีวานนท์, และจินตนา วัชรสินธุ์. (2562). ผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนต่อพฤติกรรมของมารดา ในการดูแลบุตรวัยหัดเดินที่ติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนล่างเฉียบพลัน. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 27(3), 43-53.
จุฬาลักษณ์ แก้วสุก, ยุนี พงศ์จตุรวิทย์, และนุจรี ไชยมงคล. (2559). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมของมารดาในการป้องกันโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็กวัยก่อนเรียน. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 24(4), 54-64.
ชลาลัย เปียงใจ, นฤมล ธีระรังสิกุล, และศิริยุพา สนั่นเรืองศักดิ์. (2561). ผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนต่อพฤติกรรมการดูแลเด็กโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจของผู้ดูแล. วารสารพยาบาล, 67(3), 1-9.
ปวีณา วรรณวิภาพร, พิกุลแก้ว เจนใจ, และศุภลักษณ์ อยู่ยอด. (2560). การวิเคราะห์ต้นทุนกิจกรรมการดูแลรักษาเด็กโรคปอดอักเสบและต้นทุนการวินิจฉัยโรคร่วมในหอผู้ป่วยกุมารเวชกรรม โรงพยาบาลเชียงคำ. วารสารสภาการพยาบาล, 32(1), 146-157.
พิมพาภรณ์ กลั่นกลิ่น. (2561). การพยาบาลเด็กเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ (พิมพ์ครั้งที่ 2). สมาร์ทโคตรติ้ง แอนด์ เซอร์วิส.
ยุนี พงศ์จตุรวิทย์, พจนารถ สารพัด, และนุจรี ไชยมงคล. (2564). ประสบการณ์ของผู้ดูแลเด็กในการป้องกันโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็กก่อนวัยเรียน. วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข, 31(3), 96-109.
วิจิตตราภรณ์ สุขเจริญ, พิชชากร ตั้งอารมณ์สุข, มุกตาภา สนธิอัชชรา, กชพร ไวทยกุล, จิรายุ เศวตไกรพ, จิดาภา ภู่พงศ์เพ็ชร, รตรัฐ เข่งคุ้ม, ศักรินทร์ ภูผานิล, และศราวุธ สาภมณีย์. (2563). การศึกษามาตรการจัดการปัญหาฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอนของประเทศไทยตามแนวทางองค์การอนามัยโลก. วชิรเวชสารและวารสารเวชศาสตร์เขตเมือง, 64(5), 345-356. https://dx.doi.org/10.14456/vmj.2020.34
ศิรินทร์ณา ทัศนียรัตน์, สุวรรณา มณีวงศ์, รุ้งกาญจน์ โรจนประดิษฐ, และเสาวภาคย์ ทัดสิงห์. (2564). ควันบุหรี่กับสุขภาพเด็ก: การประยุกต์ใช้หลัก 5A ในการพยาบาล. วารสารสุขภาพและการศึกษาพยาบาล, 27(2), 216-226.
สมาคมโรคระบบหายใจและเวชบำบัดวิกฤตในเด็ก ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย. (2562). แนวทางการดูแลรักษาโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก พ.ศ. 2562. บียอนด์ เอ็นเทอร์ไพรซ์.
สุจิตรา ขัติยะ และ ศุภวรรณ ใจบุญ. (2567). ผลของโปรแกรมการส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนต่อความรู้และพฤติกกรมของผู้ดูแลเด็กที่มีภาวะติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนล่าง. วชิรสารการพยาบาล, 24(1), 25-40.
สุทธินี สุปรีพร. (2564). ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการดูแลของผู้ดูแลเด็กโรคปอดอักเสบซ้ำ. พยาบาลสาร, 48(4), 146-159.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. (2558). แนวทางการป้องกันควบคุมโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียนอนุบาล (สำหรับครูผู้ดูแลเด็ก). บอร์น ทู บี พับลิซซิ่ง.
Alemayehu, S., Kidanu, K., Kahsay, T. & Kassa M. (2019). Risk factors of acute respiratory infections among under five children attending public hospital in southern Tigray, Ethiopia, 2016/2017. BMC Pediatrics, 19(380), 1-8. https://doi.org/10.1186/s12887-019-1767-1
Bandura, A. (1997). Self-efficacy: The exercise of control. W.H. Freeman and company.
Centers for Disease Control and Prevention. (2024). Smoking and tobacco use. https:// www.cdc.gov/tobacco/secondhand-smoke/index.html
Dange, H., Andualem, Z., Dagnew, B. & Taddese, A. A. (2020). Acute respiratory infection and its associated factors among children under-five years attending pediatrics ward at Universityof Gondar Comprehensive Specialized Hospital, Northwest Ethiopia: institution-based cross-sectional study. BMC Pediatrics, 20(93), 1-7. https://doi.org/10.1186/s12887-020-1997-2
Edward, M., Hayford, E. A. & Korkuvi, A. Y. (2023). Acute respiratory infection in children: A rising concern, effort, challenges, and future recommendations. International Journal of Family & Community Medicine, 7(4), 142-143. https://doi.org/doi:10.15406/ijfcm.2023.07.00328
Eric, A. F. S., Cherian, T., Chow, J., Salles, S. A. S., Laxminarayan, R. & John, T. J. (2014). Acute respiratory infections in children. Google. https://www.dcp-3.org/sites/default/files/dcp2/DCP25.pdf
Furley, K., Mehra, C., Goin-Kochel, R. P., Fahey, M. C., Hunter, M. F., Williams, K. & Absoud, M. (2023). Developmental regression in children: Current and future directions. Elsevier, 169, 5-17. https://doi.org/10.1016/j.cortex.2023.09.001
Global Burden of Disease. (2020). Global burden of 369 diseases and injuries in 204 countries and territories, 1990-2019: A systematic analysis for the Global Burden of Disease Study 2019. Global Health Metrics, 396(10258), 1204–1222. https://doi.org/10.1016/ S0140-6736(20)30925-9
Goodarzi, E., Sohrabivafa, M., Darvishi, I., Naemi, H., & Khazaei, Z. (2021). Epidemiology of mortality induced by acute respiratory infections in infants and children under the age of 5 years and its relationship with the Human Development Index in Asia: An updated ecological study. Journal of Public Health, 29(1), 1047–1054. https://doi.org/10.1007/s10389-020-01195-1
Hockenberry, M. J., Wilson, D. & Rodgers, C. C. (2017). Wong’s essentials of pediatric nursing (10th ed.). Mosby Elsevier.
Mir, F., Ariff, S., Bhura, M., Chanar, S., Nathwani, A. A., Jawwad, M., Hussain, A., Rizvi, A., Umer, M., Memon, Z., Habib, A., Soofi, S. B., & Bhutta, Z. A. (2022). Risk factors for acute respiratory infections in children between 0 – 23 months of age in a Peri-Urban District in Pakistan: A matched case-control study. Frontiers in Pediatrics, 9(704545), 1-7. https://doi.org/10.3389/fped.2021.704545
Tazinya, A. A., Halle-Ekane, G. E., Mbuagbaw, L. T., Abanda, M., Atashili, J., & Obama, M. T. (2018). Risk factors for acute respiratory infections in children under five years attending the Bamenda Regional Hospital in Cameroon. BMC Pulmonary Medicine, 18(1), 7. https://doi.org/10.1186/s12890-018-0579-7
Vinod, A., & Kaimal, R. S. (2023). Study on acute respiratory infection in children aged 1 year to 5 year – a hospital-based cross-sectional study. Journal of Family Medicine and Primary Care, 12(4), 666-671. https://doi.org/10.4103/jfmpc.jfmpc_1748_22
World Health Organization. (2022). Clinical care of severe acute respiratory infections-Tool kit-update 2022. World Health Organization.
World Health Organization. (2024). Children aged <5 years with acute respiratory infection (ARI) symptoms taken to facility (%). https://www.who.int/data/gho/indicator-metadata-registry/imr-details/3147
Zebua, D., Alfionita, I., Lawa, Y., & Siregar, D. (2023). Acute respiratory infection and its associated factors among children under five years. Elsevier, 30, S50-S54. https://www.sciencedirect.com/science/article/abs/pii/S1130862123000141?via%3Dihub#preview-section-abstract
Zhao, Y., Dong, B. R., & Hao, Q. (2022). Probiotics for preventing acute upper respiratory tract infections. Cochrane Database of Systematic Reviews, 8, 1-3. https://doi.org/10.1002/14651858.CD006895.pub4
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 มหาวิทยาลัยคริสเตียน
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.