การพัฒนาทักษะภายในของผู้นำองค์กร: สู่ภาวะผู้นำที่สร้างผลกระทบให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนของโลกได้อย่างแท้จริง

ผู้แต่ง

  • กีรติกาญจน์ เจตน์ธนานันท์ มหาวิทยาลัยมหิดล
  • ธีรพงษ์ บุญรักษา มหาวิทยาลัยมหิดล
  • รษิกา เอี่ยมเกิด มหาวิทยาลัยมหิดล

คำสำคัญ:

เป้าหมายการพัฒนาทักษะภายใน, เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน, ภาวะผู้นำ, ผลกระทบเพื่อเปลี่ยนแปลงโลก

บทคัดย่อ

“การพัฒนาที่ยั่งยืน” ถือเป็นประเด็นสำคัญที่ทั่วโลกมีเป้าหมายในการขับเคลื่อนให้บรรลุตามแผนที่ตั้งไว้ แต่ผลการสำรวจยังพบว่าการดำเนินการยังไม่คืบหน้าตามแผน จนคาดการณ์ได้ว่าไม่สามารถบรรลุเป้าหมายได้ทันในปี ค.ศ. 2030 หนึ่งในปัจจัยสำคัญต่อการผลักดันให้เกิดระบบกลไกในการขับเคลื่อนการพัฒนาที่ยั่งยืน คือ“ผู้นำ” หรือผู้บริหารทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน บทความวิชาการนี้ จึงมีเป้าหมายในการนำเสนอแนวคิด “เป้าหมายการพัฒนาทักษะภายใน” หรือ IDGs ซึ่งประกอบด้วย การพัฒนาทักษะภายในของมนุษย์ใน 5 มิติ ได้แก่ “การตระหนักรู้และเชื่อมโยงกับตนเอง” “การพัฒนาศักยภาพของความคิด” “การเชื่อมโยงและใส่ใจต่อคุณค่าของผู้อื่นและสรรพสิ่ง” “ความสามารถในการอยู่ร่วมกัน” และ “การขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลง” นอกจากนั้น บทความนี้ยังได้วิเคราะห์ความสำคัญของ IDGs ต่อการเสริมสร้างภาวะผู้นำในการขับเคลื่อนการพัฒนาที่ยั่งยืน รวมถึงนำเสนอโมเดลการนำ IDGs ไปใช้เพื่อพัฒนาผู้บริหารเพื่อสร้างผลกระทบให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนขององค์กรและโลกอย่างแท้จริง

References

กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร. (2565, 1 กุมภาพันธ์). 50 ปี แห่งประสบการณ์สร้างรากฐานสู่อนาคต. https://media.kkpfg.com/document/2022/Mar/KKP_THE_MAKING_OF_THE_MODERN_THAI_ECONOMY.pdf

โครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ. (2565, 9 มีนาคม). SDG Guidebook คู่มือการเปลี่ยนแปลงโลกอย่างไรให้ยั่งยืน สำหรับเยาวชนนักเปลี่ยนแปลงสังคม. https://www.undp.org/thailand/publications/sdg-guidebook

พิมพ์นารา อินต๊ะประเสริฐ, อติรุจ ดือเระ, แพรวพรรณ ศิริเลิศ, กนกพระ บุญเลิศ, และ เนตรธิดาร์ บุนนาค. (2566). SDG Highlights 2023: Thailand’s unsustainable development review. สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.). https://www.sdgmove.com/wp-content/uploads/2023/11/1Nov2023-SDG-Highlights-2023.pdf

สมพร แสงชัย. (2561). วิวัฒนาการแนวคิดของการพัฒนาที่ยั่งยืน. วารสารการจัดการสิ่งแวดล้อม, 14(2), 96-111.

สฤณี อาชวานันทกุล. (2567). ถอดรหัสวาทกรรม “การพัฒนาที่ยั่งยืน” บนทางแพร่งสู่เศรษฐกิจประชาธิปไตย. คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สุธี ประศาสน์เศรษฐ. (2565). วิวัฒนาการระบบเศรษฐกิจไทย ในรอบ 200 ปี. วารสารเศรษฐศาสตร์การเมืองบูรพา, 1(1), 23-49.

Ankrah, D., Bristow, J., Hires, D., & Henriksson, J. A. (2023). Inner development goals: From inner growth to outer change. Field Actions Science Reports [Online], 25, 81-87.

Dweck, C. S. (1999). Self-theories: Their role in motivation, personality, and development. Psychology Press.

Eurich, T. (2018). What self-awareness really is (and how to cultivate it). Harvard Business Review, 4(1), 4-7. https://hbr.org/2018/01/what-self-awareness-really-is-and-how-to-cultivate-it

Friedman, H.H, Friedman, L.W, Leverton, C. (2016). Increase diversity to boost creativity and enhance problem solving. Psychosociological Issues in Human Resource Management, 4(2), 7–33. doi: 10.22381/PIHRM4220161

Hays, J.M. (2016). Theory U and team performance: Presence, participation, and productivity. In Gunnlaugson, Baron, and Cayer (Ed.), Perspectives on Theory U: Insights from the Field (pp.138-160). IGI Global.

Itzchakov, G, DeMarree, K.G., Kluger, A.N., & Turjeman-Levi, Y. (2018). The listener sets the tone: High-quality listening increases attitude clarity and behavior-intention consequences. Personal. Soc. Psychol. Bull, 445, 762–78.

Lank, E. (2006). Collaborative advantage. Palgrave Macmillan.

Mathews, B., & Linski, C. M. (2016). Shifting the paradigm: Reevaluating resistance to organizational change. Journal of Organizational Change Management, 29(6), 963-972.

Marzano, R J. (2001). Designing a new taxonomy of educational objectives. Corwin Press.

Millar, C., Hind, P., & Magala, S. (2012). Sustainability and the need for change: organisational change and transformational vision. Journal of Organizational Change Management, 25(4), 489-500.

Mumford, M. D., Fichtel, M., England, S., & Newbold, T. R. (2023). Leader thinking, follower thinking: Leader impacts on follower creative performance. Annual Review of Organizational Psychology and Organizational Behavior, 10(4), 13-40.

Owie, E. T. (2019). Organizational change and improved performance: The role of transformational leadership. Humanities, Management, Arts, Education & the Social Science, 7(4), 1-8.

Schermerhorn, J. R. (2020). Management (14th ed.). John Wiley & Sons.

Stålne, K, & Greca, S. (2022). Phase 2 research report. Inner development goals. https://innerdevelopmentgoals.org/about/resources/

Sachs, J.D., Lafortune, G., Fuller, G., Drumm, E. (2023). Sustainable Development Report 2023: Implementing the SDG Stimulus includes the SDG Index and Dashboards. Dublin University Press, Google. https://s3.amazonaws.com/sustainabledevelopment.report/2023/2023-sustainable-development-report.pdf

Scharmer, C. (2008). Uncovering the blind spot of leadership. Leader to Leader, Winter (47), 52–59.

Woo, S.E., Chernyshenko, O.S., Longley, A., Zhang, Z.X., Chiu, C.Y., & Stark, S.E. (2014). Openness to experience: Its lower level structure, measurement, and cross-cultural equivalence. J Pers Assess, 96(1), 29–45. doi: 10.1080/00223891.2013.806328

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-12-16