ประสบการณ์ใช้เมทแอมเฟตามีนของหญิงตั้งครรภ์
คำสำคัญ:
ประสบการณ์การใช้เมทแอมเฟตามีน, เมทแอมเฟตามีน, หญิงตั้งครรภ์บทคัดย่อ
การวิจัยเชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาประสบการณ์ใช้เมทแอมเฟตามีนของหญิงตั้งครรภ์ระหว่างตั้งครรภ์ ที่มารับบริการในโรงพยาบาลแห่งหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กลุ่มตัวอย่างคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง จำนวน 10 ราย อายุระหว่าง 15-38 ปี เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิเคราะห์แก่นสาระ ผลการวิจัยพบว่าหญิงตั้งครรภ์ใช้เมทแอมเฟตามีนครั้งแรกเมื่ออายุ 15 ปี และยังคงใช้ระหว่างตั้งครรภ์โดยวิธีสูบควัน ปริมาณ 3-5 เม็ดต่อครั้ง ความถี่ 2-3 ครั้ง/สัปดาห์ สถานที่ใช้ส่วนใหญ่อยู่ที่บ้านตนเอง หญิงตั้งครรภ์รับรู้ว่าการใช้เมทแอมเฟตามีน ทำให้ทำงานได้ทนนาน และมีความสุข แต่ทำให้ร่างกายซูบผอม ผิวหนังหยาบแห้ง ฟันดำ ฟันผุ เสียภาพลักษณ์ อยู่ไม่เป็นสุข หงุดหงิด เครียด เหงา เศร้า เบื่อหน่าย หวาดระแวง และยอมรับว่า “ติดเมทแอมเฟตามีน” และรับรู้ว่าการใช้เมทแอมเฟตามีนส่งผลให้น้ำหนักตลอดการตั้งครรภ์เพิ่มขึ้นน้อยกว่าเกณฑ์ เจ็บครรภ์บ่อย ทารกในครรภ์ดิ้นน้อยลง และแท้ง ดังนั้นหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรให้ความสำคัญในการค้นหาคัดกรอง สารเสพติด ในหญิงตั้งครรภ์เพื่อให้การดูแลช่วยเหลือได้ครอบคลุมและมีประสิทธิภาพต่อไป
References
จุฑารัตน์ ชัยวีรพันธ์เดช และ สิวิลักษณ์ กาญจนบัตร. (2559). ผลกระทบต่อทารกจากมารดาที่ใช้สารเมทแอมเฟตามีนก่อนคลอด. วชิรเวชสารและวารสารเวชศาสตร์เขตเมือง, 60(1), 53-64.
ธนาธิป หอมหวล, มรรยาท รุจิวิชชญ์, และ ชมชื่น สมประเสริฐ. (2557). การเสริมสร้างความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองของผู้ป่วยวัยรุ่นเสพติดแอมเฟตามีน. วารสารมหาวิทยาลัยคริสเตียน, 28(1), 81-91.
นวลจันทร์ ทัศนชัยกุล. (2563). ผู้หญิงกับยาเสพติด. วารสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 46(2), 1-18.
นุชสา อินทะจักร และ สมเดช พินิจสุนทร. (2560). มูลเหตุจูงใจในการใช้ยาเสพติดของผู้ที่เข้ารับการบำบัดในโรงพยาบาลธัญญารักษ์อุดรธานี. วารสารพัฒนาสุขภาพชุมชน, 5(3), 503-522.
พรทิพย์ หอมเพชร, พิสมัย กองทรัพย์, และ น้องนุช แสงบรรดิษฐ์. (2566). ประสิทธิผลของการใช้รูปแบบการวางแผนจำหน่ายมารดาหลังคลอดที่ใช้สารเสพติดแมทแอมเฟตามีนต่อความรู้ พฤติกรรมการดูแลตนเองหลังคลอด การกลับมารักษาซ้ำและการกลับมาเสพซ้ำในโรงพยาบาลแห่งหนึ่ง. วารสารโรงพยาบาลสกลนคร, 26(1), 12-25.
สถาบันบำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดแห่งชาติบรมราชชนนี. (2563). ข้อมูลการให้บริการด้านการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาเสพติดประจำปี 2563. สถาบันบำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดแห่งชาติบรมราชชนนี.
สุจิตตา ฤทธิ์มนตรี และจักรพันธ์ สิบพันธ์โพธิ์. (2562). แนวทางการลดอันตรายจากการใช้เมทแอมเฟตามีน. ขอนแก่นพิมพ์พัฒนาจำกัด.
สุนทรี ศรีโกไสย และ พันธุ์นภา กิตติรัตนไพบูลย์. (2562). ผลกระทบของการเสพเมทแอมเฟตามีนในผู้หญิง: การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ. วารสารสำนักงาน ป.ป.ส., 35(2), 52-64.
สำนักงานป้องกันและปราบปรามยาเสพติด. (2564). ผลการปราบปรามยาเสพติดทั่วประเทศ รายงานประจำปี 2564. สำนักงานป้องกันและปราบปรามยาเสพติด.
อัญชลี โตเอี่ยม, ปัญญารัตน์ ลาภวงศ์วัฒนา, รัฐกมล ชาญสาธิตพรม, และ กนิษฐา จำรูญสวัสดิ์. (2559). ปัจจัยทำนายการเสพแอมเฟตามีนของเยาวชนในชุมชนแออัด. วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย, 9(2), 88-103.
อดิศักดิ์ ไวเขตการณ์. (2564). ผลลัพธ์การตั้งครรภ์ของมารดาและทารกในสตรีตั้งครรภ์ที่เสพสารเมทแอมเฟตามีน. วารสารโรงพยาบาลมหาสารคาม, 18(2), 105-112.
อารีย์วรรณ อ่วมตานี. (2559). การวิจัยเชิงคุณภาพทางการพยาบาล. โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Cunningham, F. G., Leveno, K. J., Bloom, S. L., Dashe, J. S., Hoffman, B. L., Casey, B. M., & Spong. C. Y. (2008). Williams Obstetrics (25th ed.). McGraw-Hill.
Dluzen, D. E., & Liu, B. (2008). Gender differences in methamphetamine use and responses: A review. Gender Medicine, 5, 24-35.
Homsup, P., Phaloprakarn, C., Tangjitgamol, S., & Manusirivithaya S. (2018). Maternal characteristics and pregnancy outcomes among illicit drug -using women in an urban setting. Taiwanese Journal of Obstetrics & Gynecology, 57, 83-88.
Kalaitzopoulos, D-R., Chatzistergiou, K., Amylidi, A-L., Kokkinidis, D. G. & Goulis., D. G. (2018). Effect of methamphetamine hydrochloride on pregnancy outcome: A systematic review and met-analysis. Journal of Addiction Medicine, 12(3), 220-226. Doi: 10.1155/2015 /831954
Kiblawi, Z. N., Smith, L. M., Diaz, S. D., LaGasse, L. L., Derauf, C., Newman, E., Shah, R., Arria, A., Huestis, M., Haning, W., Strauss, A., DellaGrotta, S., Dansereau, L. M., Neal, C., & Lester, B. (2014). Prenatal methamphetamine exposure and neonatal and infant neurobehavioral outcome: Results from the IDEAL. Study. Substance Abuse, 35(1), 68-73. Doi:10. 1080/08897077.2013.814614
Murphy, D. A., Harrell, L., Fintzy, R., Vitero, S., Gutierrez, A., & Shetty, V. (2016). Soda consumption among methamphetamine users in the USA: Impact on oral health. Oral Health and Preventive Dentistry, 14(3), 227-234. Doi: 10.3290/j.ohpd.a35620
Polcin, D. L., Buscemi, R., Nayak, M. Korcha, R., & Galloway, G. (2012). Gender differences in psychiatric symptoms among methamphetamine dependent residents in sober living houses. Addictive Disorders & Their Treatment, 11(2), 53-63. Doi:10. 1097/ADT. 0bo13e 3182213ef1
Rungnirundon, T., Verachai, V., Gelernter, J., Malison, R. T., & Kalayasiri, R. (2017). Sex differences in methamphetamine use and dependence in a Thai treatment center. Journal of Addiction Medicine, 11(1), 19-27. Doi:10.1016/J. drugalcdep. 2018.08.041
Smith, L. M., Diaz, S., LaGasse, L. L., Wouldes, T., Derauf, C., Newmen, E., et al. (2015). Developmental and behavioral consequences of prenatal methamphetamine exposure: A review of the infant development, environment, and lifestyle. (IDEAL) study. Neurotoxicol Teratol, 51, 35-44. Doi:101016/j.ntt.2015.07.006
Terplan, M., Smith, E. J., Kozloski, M. J., & Pollack, H. A. (2009). Methamphetamine use among pregnancy women. Obstetrics & Gynecology, 113(6), 1285-1291.
Thaithumyanon, P., Limpongsanurak, S., Praisuwanna, P., & Punnahitanon, S. (2004). Impact of prenatal illicit drug exposure on the mother and infant. Chulalongkorn Medical Journal, 48, 235-245.
Thaithumyanon P, Limpongsanurak S, Praisuwanna P, Punnahitanon S. (2005). Perinatal effects of amphetamine and heroin use during pregnancy on the mother and infant. Journal of the Medical Association of Thailand, 88(11),1506.
Thamkhantho M. (2018). Obstetric outcomes of amphetamine misapplication duration pregnancy. Journal of the Medical Association of Thailand, 101(12), 1680-1685.
The American College of Obstetricians and Gynecologists. (2011). Committee opinion number 479: Methamphetamine abuse in women of reproductive age. Obstetricians & Gynecologists, 117(3), 751-755.
United Nations Office on Drugs and Crime; UNODC. (2022). World drug report 2022. United Nations Office on Drugs and Crime.
Wright, T. E., Schuetter, R., Tellei, J., & Sauvage, L. (2015). Methamphetamines and pregnancy outcomes. Journal of Addiction Medicine, 9(2), 111-117.
Wu, M., LaGasse, L. L, Wouldes, T. A., Arria, A. M., Wilcox, T., Derauf, C., Newman, E., Shah, R., Smith, L. M,, & Neal, C. R. (2013). Predictors of inadequate prenatal care in methamphetamine using mothers in New Zealand and the United States. Maternal & Child Health Journal, 17(3), 566-575.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 มหาวิทยาลัยคริสเตียน
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.