วุ้นตาเสื่อม รู้เท่าทัน ป้องกันได้
คำสำคัญ:
วุ้นตาเสื่อม, การป้องกัน, สารอาหารบทคัดย่อ
วุ้นตาเสื่อมเป็นปัญหาที่อาจเกิดขึ้นได้กับทุกคน สาเหตุเกิดจากการเสื่อมของวุ้นตาตามวัย และปัจจัยส่งเสริม เช่น อายุ 50 ปีขึ้นไป สายตาสั้นมากกว่า 600 ไดออปเตอร์ เคยได้รับอุบัติเหตุหรือการผ่าตัดทางตา การใช้โทรศัพท์มือถือ คอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต เป็นเวลานานติดต่อกัน ส่งผลให้เกิดวุ้นตาเสื่อมได้เร็วมากขึ้น อาการของวุ้นตาเสื่อมจะมองเห็นจุดดำลอยไปมาหรือเห็นแสงฟ้าแลบ การวินิจฉัยโดยการขยายรูม่านตาและตรวจจอประสาทตา ซึ่งหากพบอาการผิดปกติแล้วไม่รับการรักษาอาจเกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น การฉีกขาดของจอตา เลือดออกในวุ้นตา และการดึงรั้งของจุดรับภาพชัด การรักษา เช่น การใช้เลเซอร์หรือการผ่าตัด ผู้ป่วยต้องติดตามการรักษาอย่างต่อเนื่องและสังเกตภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น ดังนั้นการป้องกันวุ้นตาเสื่อมจึงเป็นสิ่งสำคัญด้วยการลดปัจจัยส่งเสริมวุ้นตาเสื่อมหรือการเลือกรับประทานอาหารที่มีสารอาหารป้องกันวุ้นตาเสื่อม เช่น ลูทีน ซีแซนทีน เป็นต้น และควรหมั่นสังเกตอาการผิดปกติ หากมีอาการผิดปกติเห็นแสงฟ้าแลบควรพบจักษุแพทย์เพื่อรับการตรวจวินิจฉัย เพื่อป้องกันไม่ให้โรคลุกลามจนเกิดจอประสาทตาหลุดลอกได้
References
กิตติศักดิ์ กุลวิชิต. (2557). ภาวะน้ำวุ้นตาเสื่อม. ใน เปรมจิต เศาณานนท์ (บ.ก.), Chula eye book (น. 284). กรุงเทพฯ: พิมพ์ดี.
คณะกรรมการและคณะทำงานปรับปรุงข้อกำหนดสารอาหารที่ควรได้รับประจำวันสำหรับคนไทย. (2563). ปริมาณสารอาหารอ้างอิงที่ควรได้รับประจำวันสำหรับคนไทย พ.ศ. 2563. กรุงเทพฯ: เอ.วี. โปรเกรสซีฟ.
ดวงเนตร โรจนาภรณ์. (2561). Flashing and floater. ใน อาภัทรสา เล็กสกุล (บ.ก.), จักษุวิทยารามาธิบดี (น.119-120). กรุงเทพฯ: ธรรมสาร.
เนตรนภิส วัฒนสุชาติ. (2557). บริโภคผัก-ผลไม้ ป้องกันจอประสาทตาเสื่อมจากการใช้มือถือและคอมพิวเตอร์. วารสารอาหาร, 44(3), 41-45.
ปาณิสรา ส่งวัฒนายุทธ. (2563). บทบาทพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยจอประสาทตาลอก. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุตรดิตถ์, 12(2), 189-201.
แพร์ พงศาเจริญนนท์. (2561). โรคทางจอตาที่พบบ่อย. ใน วิศนี ตันติเสวี และคณะ (บ.ก.), ตำราจักษุวิทยาสำหรับนิสิตแพทย์และแพทย์เวชปฏิบัติทั่วไป (ฉบับปรับปรุง) (น.405-407). กรุงเทพฯ: พิมพ์ดี.
รวีวรรณ ชุนถนอม. (2562). Review eye anatomy. ใน อรวสี จตุทอง, วิวรรณ ศันสนยุทธ และชวลิต สนธิสมบัติ (บ.ก.), Basic ophthalmology (น. 14). กรุงเทพ: นำอักษรการพิมพ์.
วรินทร์ทิพย์ คงฤทธิ์. (2564). กลุ่มอาการที่พบจากการใช้คอมพิวเตอร์ในการปฏิบัติงาน. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 40(5), 369-375.
วิภาดา แซ่เล้า, กานต์สุดา วันจันทึก, สูติเทพ ศิริพิพัฒนกุล, ประไพศรี ศิริจักรวาล และภานุพงษ์ วันจันทึก. (2562). ผลของโปสเตอร์โภชนศึกษาเรื่องอาหารที่มีลูทีนและซีแซนทีนสูงเพื่อสุขภาพสายตาในผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ. วารสารการพยาบาล การสาธารณสุขและการศึกษา, 20(2), 119-131.
ศักรินทร์ อัษญคุณ. (2560). กายวิภาคของลูกตา. ใน สมสงวน อัษญคุณ และคณะ (บ.ก.), โรคตาที่พบบ่อยในเวชปฏิบัติ (น. 11). (พิมพ์ครั้งที่ 3). เชียงใหม่: วินอินดีไซน์.
อติพร ตวงทอง, วณิชา ชื่นกองแก้ว และอภิชาติ สิงคาลวณิช. (2558). ความรู้พื้นฐานทางจักษุวิทยา. กรุงเทพฯ: ไซเบอร์พริ้นกรุ๊ป.
Agata, P., Katarzyna, N., Malgorzata, S., Mario, D., & Robert, R. (2020). Antioxidants in the retina and vitreous-current state of knowledge. Ophthalmol Journal, 5, 81–86. DOI: 10.5603/OJ.2020.0018.
Andreas, K., Nikoleta, T., Konstantina, G., Fotios, L., Maria, S., & Loannis, A. (2020). Safety and efficacy of YAG laser vitreolysis for the treatment of vitreous floaters: An overview. Advances in Therapy, 37(4), 1319–1327. Retrieved 13 December 2022, from https:// shorturl.asia/anmkb
Chi-Ting, H., Fu-An, C., Daih-Huang, K., Li-Chai, C., Shou-Shan, Y., & Po-Chuen, S. (2019). Pharmacologic vitreolysis of vitreous floaters by 3-month pineapple supplement in Taiwan: A pilot study. Journal of American Science, 15(4), 17-30. Retrieved 13 December 2022, from https://shorturl.asia/3lwzF
Geoffrey, K. B., Thomas, H., & Andrew, A. C. (2020). To treat or not to treat: Management options for symptomatic vitreous floaters. Asia-Pacific Journal of Ophthalmology, 9(2), 96-103. DOI: 10.1097/APO.0000000000000276.
Gisung, S., Joonhong, S., & Mingui, K. (2021). Acute symptomatic vitreous floaters assessed with ultra-wide field scanning laser ophthalmoscopy and spectral domain optical coherence tomography. Scientific Reports, 11(8930), 1-7. Retrieved 13 December 2022, from https:// www.nature.com/articles/s41598-021-88371-9
Quraish, G., Sarwar, Z., Rosa, D. M., & Anna, T. M. E. (2017). An assessment of vitreous degeneration in eyes with vitreomacular traction and macular holes. Journal of Ophthalmol, 2017(6834692), 1-6. Retrieved 11 June 2022, from https://shorturl.asia/58NSk
Srividya, K., Lauren, K., & Jayanth, S. (2022). Complications of treatment for symptomatic vitreous floater: A review. International Ophthalmology Clinics, 62(3), 131-155. DOI: 10.1097/IIO.0000000000000433.
Tiezhu, L., Tongtong, L., Xinmei, Z., Yannian, H., Salissou, M., Emmanuel, E. P., Guangzheng, D., & Lijun, S. (2022). The efficacy and safety of YAG laser vitreolysis for symptomatic vitreous floaters of complete PVD or non-PVD. Ophthalmology and Therapy, 11(1), 201-214. Retrieved 11 June 2023, from https://shorturl.asia/mkWQP
World Health Organization (WHO). (2022). Blindness and vision impairment. Retrieved 8 June 2022, from https://www.who.int/news-room/fact-sheets/detail/blindness-and-visual-impairment
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 มหาวิทยาลัยคริสเตียน
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.