แนวคิด รูปแบบ และผลลัพธ์การปฏิบัติการพยาบาลของอาจารย์พยาบาล: กรณีศึกษาการป้องกันการหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชน

ผู้แต่ง

  • นงพิมล นิมิตรอานันท์ รองศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยคริสเตียน
  • พิมพ์นิภา ศรีนพคุณ อาจารย์ประจำ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยคริสเตียน
  • ฐิติมา หมอทรัพย์ อาจารย์ประจำ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยคริสเตียน

คำสำคัญ:

การปฏิบัติการพยาบาลของอาจารย์, ผู้สูงอายุในชุมชน, การป้องกันการหกล้ม

บทคัดย่อ

          ปัญหาการหกล้มมีผลกระทบอย่างยิ่งต่อผู้สูงอายุ ครอบครัวและการบริการสุขภาพ จึงจำเป็นต้องมีมาตรการการป้องกันการหกล้มที่ดีเพื่อเป้าหมายผู้สูงวัยสุขภาพดี  บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายสถานการณ์การหกล้มและปัจจัยเสี่ยง แนวคิดการปฏิบัติการพยาบาลของอาจารย์พยาบาล นโยบายของสภาการพยาบาล การกำหนดนโยบายและการจัดทำแผนปฏิบัติการของคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยคริสเตียน การบูรณาการแนวคิดดังกล่าวมาใช้ในการออกแบบโครงการป้องกันการหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชนแห่งหนึ่งโดยกลุ่มอาจารย์การพยาบาลชุมชน ประกอบด้วยกิจกรรม 4 ระยะ ได้แก่ ระยะเตรียมการ ระยะวางแผนงาน ระยะปฏิบัติการและระยะสิ้นสุดโครงการ

          จากการประเมินผลการดำเนินงาน พบว่าโครงการปฏิบัติการของอาจารย์ส่งผลลัพธ์ที่ดีทางสุขภาพต่อผู้ร่วมโครงการ การสร้างเครือข่ายการทำงานในชุมชน และการเพิ่มพูนทักษะการปฏิบัติการของอาจารย์กลุ่มนี้ รวมทั้งได้ข้อเสนอแนะเพื่อเป็นแนวทางการปฏิบัติการพยาบาลของอาจารย์ในปีการศึกษาต่อไป

References

กมลรัตน์ กิตติพิมพานนท์. (2559). การประเมินและจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อการหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชน: บทบาทของพยาบาลชุมชนในหน่วยบริการปฐมภูมิ. วารสารพยาบาลสาธารณสุข, 30(3), 183-195.

กลุ่มนโยบายและยุทธศาสตร์ กรมกิจการผู้สูงอายุ. (2566). สถิติผู้สูงอายุไทย ปี 2565. สืบค้นจาก https://www.gop.go.th/know/side1/1/1962

คณะกรรมการสภาการพยาบาล. (2565). แนวทางการทำ Faculty practice. สืบค้นจาก https://www.tnmc.or.th/images/userfiles/files/Faculty%20Practice(1).pdf

จิราพร เกศพิชญวัฒนา และ ภัทรพร คงบุญ. (2563). โครงการศึกษานโยบายและการดําเนินงานการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุในประเทศไทย (รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ: มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย (มส.ผส.) สํานักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.).

ฉวีวรรณ ธงไชย, กรรณิการ์ กันธะรักษา, มนัสนิตย์ บุญยธรรพ, และ พรทิวา ทักษิณ. (2553). รูปแบบการปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงของอาจารย์. วารสารสภาการพยาบาล, 25(4), 46-64.

ทัศนา บุญทอง. (2562). การประชุมพยาบาลแห่งชาติ ครั้งที่ 16 เรื่อง “พลิกโฉมวิชาชีพการพยาบาล สู่สุข-ภาวะถ้วนหน้าอย่างยั่งยืน. จดหมายข่าวสภาการพยาบาล, 21(6), 4-5.

นงพิมล นิมิตอานันท์, วิชุดา กลิ่นหอม, เจือจันทน์ วัฒกีเจริญ, และ ชลทิพย์ ทิพย์แก้ว. (2563). การพัฒนารูปแบบการป้องกันการหกล้มของผู้สูงอายุแบบมีส่วนร่วมของชุมชน. วารสารพยาบาลทหารบก, 21(2), 389-399.

นิพา ศรีช้าง และ ลวิตรา ก๋าวี. (2564). การพยากรณ์การพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุ (อายุ 60 ปีขึ้นไป) ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2560-2564. สืบค้นจาก http://www.thaincd.com/2016/mission/documents-detail.php?id=12095&tid=&gid=1-027)

ประเสริฐ อัสสันตชัย. (2556). ปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยในผู้สูงอายุและการป้องกัน. กรุงเทพฯ: ยูเนี่ยนครีเอชั่น.

ปราโมทย์ ประสาทกุล. (2564). สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ.2564. นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.

พัชราวลัย ศุภกะ. (2561). เครือข่ายการพัฒนาความเป็นเมืองของชุมชนต้นแบบในองค์กรชุมชนตำบลไร่ขิง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม. วารสารนวัตกรรมการศึกษาและการวิจัย, 2(2), 69-80.

รัฎภัทร์ บุญมาทอง. (2563). การป้องกันการหกล้มผู้สูงอายุที่อยู่ในชุมชน: บทบาทของพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพและป้องกัน. วารสารมหาวิทยาลัยคริสเตียน, 26(4), 106-115.

วิชัย เอกพลากร (บรรณาธิการ), หทัยชนก พรรคเจริญ และ วราภรณ์ เสถียรนพเก้า. (2564). การสํารวจสุขภาพของประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครั้งที่ 6 พ.ศ.2562-2563. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์อักษรกราฟฟิคแอนด์ดีไซน์.

วีรศักดิ์ เมืองไพศาล. (2564). ประเด็นสำคัญในทางปฏิบัติสำหรับการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว. กรุงเทพฯ: สมาคมพฤฒาวิทยาและเวชศาสตร์ผู้สูงอายุไทย.

ศิริวรรณ เชาว์โน และ พรชัย คงขุนมี. (2565). ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะเสี่ยงหกล้มของผู้สูงอายุในเขตรับผิดชอบคลินิกหมอครอบครัวตากสิน อำเภอเมือง จังหวัดตาก. วารสารสาธารณสุขล้านนา, 18(1), 31-44.

ศิริอร สินธุ. (2564). การปฏิบัติการพยาบาลทางคลินิกของอาจารย์ (Faculty practice). จดหมายข่าวสภาการพยาบาล, 23(2), 7-9.

สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. (2564). คู่มือการคัดกรองประเมินผู้สูงอายุ. กรุงเทพฯ: ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

สภาการพยาบาล, คณะอนุกรรมการพิจารณาการขอรับรองสถาบันการศึกษาและเห็นชอบหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต คณะทำงานปรับปรุงเกณฑ์การขอรับรองสถาบันการศึกษาวิชาการพยาบาลและผดุงครรภ์. (2563). คู่มือการรับรองสถาบันการศึกษาวิชาการพยาบาลและผดุงครรภ์. นนทบุรี: จุดทองจำกัด.

Bosold, C. and Darnell, M. (2012). Faculty practice: Is it scholar activity? Journal of Professional Nursing, 28(2), 90-95.

Ellis Graham, & Langhorne Peter. (2005). Comprehensive geriatric assessment for older hospital patient. Medical Bullentin, 71(1), 45-59.

Gwariro, S., Dzimiri, T., Ncube, F., Musvipa, M., Longwe, R., Kanyamura, D., et al. (2017). Faculty practice: A concept analysis. International Journal of Health Science & Research, 7(2), 304-309.

Jirikowic, T., Pitonyak, J. S., Rollinger, B., Fogelberg, D., Mroz, T. M., and Powell, J. M. (2015). Capstone projects as scholarship of application in entry-level occupational therapy education. Occupational Therapy in Health Care, 29(2), 214-222.

Montero-Odasso, M., Velde, N., Martin, F. C., Petrovic, M., Tan, M. P., Ryg, J., et al. (2022). World guidelines for falls prevention and management for older adults: A global initiatives. Age and Ageing, 51, 1-36.

Saxe, J., Burgel, B. J., Stringari-Murray, S., Collins-Bride, G.M., Dennehy, P., Janson, S., Humphreys, J., et at. (2004). What is faculty practice?. Nursing Outlook, 52(4), 166-73.

Scanlon, A., Smolowitz, J., Barnes, K. (2015). Building the next generation of advanced practice nurses through clinical education and faculty practice: Three international perspectives. Clinical Scholars Review, 8(2), 249-256.

Spirgiene Lina and Brent Louise. (2018). Comprehensive geriatric assessment from a nursing perspective. Retrieved from https://doi.org/10.1007/978-3-319-76681-2_4.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-09-26