รู้เท่าทัน รู้ป้องกันภัยโรคหลอดเลือดสมอง

ผู้แต่ง

  • พรทิพย์ จอกกระจาย อาจารย์ประจำ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยคริสเตียน
  • ปาฬินทร์รฎา ธนาพัทธ์ธิวากุล อาจารย์ประจำ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยคริสเตียน
  • จุฑารัตน์ ผู้พิทักษ์กุล อาจารย์ประจำ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยคริสเตียน

คำสำคัญ:

ความตระหนักรู้, สัญญาณเตือน, โรคหลอดเลือดสมอง

บทคัดย่อ

          โรคหลอดเลือดสมอง เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของโลกและประเทศไทย มีความรุนแรงสูงถึงขั้นเสียชีวิต หากไม่เสียชีวิตแต่ก็ทำให้เกิดความพิการระยะยาว บทความวิชาการนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมข้อมูลเชิงประจักษ์ เกี่ยวกับความตระหนักรู้เกี่ยวกับสัญญาณเตือน เป็นผลการศึกษาที่สำคัญพบว่ากลุ่มตัวอย่างไม่คิดว่า อาการปวดศีรษะ เวียนศีรษะ และการสูญเสียความสามารถในการทรงตัวทันทีทันใด เป็นอาการเตือนโรคหลอดเลือดสมอง ร่วมถึงใช้ระยะเวลานานมากในการเข้าถึงการรักษา

          การศึกษาชี้ให้เห็นว่าประชาชนยังขาดความความตระหนักรู้เกี่ยวกับสัญญาณเตือน และระยะเวลาในการเข้าถึงการรักษาได้อย่างทันท่วงที ดังนั้นจึงควรให้ความรู้ด้านสุขภาพที่สำคัญแก่ประชาชน และการสร้างความตระหนักรู้เมื่อมีอาการเตือนของโรคหลอดเลือดสมอง โดยเฉพาะอาการที่สงสัยว่าน่าจะเป็นโรคหลอดเลือดสมอง เพราะถือว่าโรคหลอดเลือดสมองในระยะเฉียบพลันเป็นภาวะฉุกเฉินที่ต้องรีบเข้ารักษาแบบทางด่วน (Stroke fast track) ในโรงพยาบาล ผลจากการรักษาที่รวดเร็วเพื่อจะช่วยลดอัตราตาย ความพิการ และภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ ได้

References

กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. (2565). กรมควบคุมโรค รณรงค์วันโรคหลอดเลือดสมองโลก หรือวันอัมพาตโลก 2565 เน้นสร้างความตระหนักรู้เกี่ยวกับสัญญาณเตือนโรคหลอดเลือดสมองให้กับประชาชน. สืบค้นจาก https://pr.moph.go.th/?url=pr/detail/all/02/180623

กัญจน์ณิชา เรืองชัยทวีสุข, อภิญญา วงศ์พิริยโยธาม, และนริสา วงศ์พนารักษ์. (2564). ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง. วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย, 14(1), 213-225.

เจษฎากร เจนพาณิชพงศ์ และ ไชยพร ยุกเซ็น. (2561). การปฐมพยาบาลเบื้องต้นที่จุดเกิดเหตุ First aid care for Pre-hospital care. สืบค้นจาก https://m.facebook.com/Ramamedics/posts/1137846929686641/

ฉัตรทอง จรุพิสิฐไพบูลย์, นฤมล เปรมาสวัสดิ์, อารีย์รัตน์ เป็นสูงเนิน, นงณภัทร รุ่งเนย และผุสดี ด่านกุล. (2563). แนวทางการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในกลุ่มเสี่ยง. วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข, 30(3), 74-89.

แชมป์ สุทธิศรีศิลปะ. (2562). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคในกลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองโรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครราชสีมา. วารสารวิชาการ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 9 จังหวัดนครราชสีมา, 25(1), 5-15.

โชคชัย พลพิทักษ์, อรสา กงตาล และลัฆวี ปิยะบัณฑิตกุล. (2565). การวิเคราะห์ระบบการจัดการผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะเฉียบพลันในชุมชน. วารสารพยาบาล, 71(2), 48-56.

ไพรินทร์ พัสดุ และ ดารุณี จงอุดมการณ์. (2563). การพัฒนาระบบสุขภาพชุมชนเพื่อป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในกลุ่มเสี่ยง. วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย, 13(1), 179-195.

ภัทราวดี แซ่ลี, ภัทรวดี ศรีรัตนโชติ, สหรัฐ กันยะมี, สุธาสินี สุขสะอาด, ณฐกมล ผดาเวช และประเสริฐ ประสมรักษ์. (2563). การพัฒนารูปแบบการลดความเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองในประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป ที่อาศัยในชุมชน. The Journal of Chulabhorn Royal Academy, 3(2), 106-118.

วรรณา บุญสวยขวัญ และอมรรัตน์ กลับรอด. (2565). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อระยะเวลาการมารับการรักษาของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองในระยะเฉียบพลัน งานอุบัติเหตุฉุกเฉิน โรงพยาบาลเชียรใหญ่. วารสารศาสตร์สุขภาพและการศึกษา, 2(2), 61-75.

วิไลภรณ์ สว่างมงคล. (2563). ความล่าช้าในการนำผู้ป่วยมาโรงพยาบาลของญาติผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดระยะเฉียบพลัน: กรณีศึกษา. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยบูรพา, ชลบุรี.

วีระศักดิ์ อเนกศักดิ์, สุรพันธ์ สืบเนียม และ สิรินธร นิลวรรณาภา. (2562). การรับรู้อาการเตือนโรคหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลสุทธาเวช จังหวัดมหาสารคาม. วารสารวิชาการสาธารณสุขชุมชน, 5(4), 27-37.

วาสนา หน่อสีดา และ วิลาวัณย์ ชมนิรัตน์. (2562). การพัฒนาแนวทางการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับความดันโลหิตไม่ได้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสามพร้าว. วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ, 37(4), 167-176.

สุดศิริ หิรัญชุณหะ, วณิภา ทับเที่ยง, มณฑา ทองตำลึง, อ้อยฤทัย สุรีย์เหลืองขจร และกาญจน์สุนภัส บาลทิพย์. (2564). การพัฒนารูปแบบการสร้างเสริมพลังอำนาจและการมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชนต่อการปรับพฤติกรรมสุขภาพเพื่อป้องกันโรคในกลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง:กรณีศึกษา ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง. วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์, 41(1), 115-127.

สัตกช โพธิ์คำ. (2563). การรับรู้ทางด่วนโรคหลอดเลือดสมองของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองชนิดขาดเลือดระยะเฉียบพลันโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชกระนวน จังหวัดขอนแก่น. North-Eastern Thai Journal of Neuroscience, 15(4), 66-75.

สำนักงานเขตสุขภาพที่ 10. (2564). แนวทางจัดระบบบริการสุขภาพผู้สูงอายุ สำหรับโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke) ภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน ชนิด STEMI และกระดูกสะโพกหัก (Hip Fracture) เขตสุขภาพที่ 10. อุบลราชธานี: บริษัท อัลทิเมท พริ้นติ้ง จำกัด.

อรทัย มานะธุระ. (2562). ผลการพัฒนาโปรแกรมความรอบรู้ทางสุขภาพ เรื่องอาการเตือนโรคหลอดเลือดสมองและการเข้าถึงระบบบริการทางด่วน ในผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงและญาติ ตำบลจักราช อำเภอจักราช จังหวัดนครราชสีมา.วารสารศูนย์อนามัยที่ 9 วารสารส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม, 13(32), 206-221.

A De Luca, M Mariani, MT Riccardi, G Damiani. (2019). The role of the cincinnati prehospital stroke scale in the emergency department: Evidence from a systematic review and meta-analysis. Emergency Medicine, 11, 147–159. Retrieved from https://www.dovepress.com

Budinčević H, Meštrović A, Demarin V. (2022). Stroke scales as assessment tools in emergency settings: A narrative review. Medicina (Kaunas), 58(11), 1541. doi: 10.3390/medicina 58111541. PMID: 36363498; PMCID: PMC9696547.

Feigin VL, Brainin M, Norrving B, Martins S, Sacco RL, Hacke W, Fisher M, Pandian J, Lindsay P. (2022). World Stroke Organization (WSO): Global stroke fact sheet 2022. Int J Stroke, 17(1), 18-29. doi: 10.1177/17474930211065917.

Jo, Mirae, Oh, Heeyoung, Jang, Suk-Yong & Jo, Ahra. (2019). Factors influencing unawareness of warning signs of stroke among hypertensive diabetic patients at a high risk for stroke: The 2017 Nationwide Community Health Survey in Korea. Korean Journal of Adult Nursing, 31(4), 403–413. https://doi.org/10.7475/kjan.2019.31.4.403.

Lachkhem, Y., Rican, S., & Minvielle, E. (2018). Understanding delays in acute stroke care: A systematic review of reviews. European Journal of Public Health, 28(3), 426–433. https://doi.org/10.1093/eurpub/cky066.

Lin, B., Zhang, Z., Guo, Y., Wang, W., Mei, Y., Wang, S., Tong, Y., Shuaib, N., & Cheung, D. (2021). Perceptions of recurrence risk and behavioural changes among first-ever and recurrent stroke survivors: A qualitative analysis. Health Expectations, 24(6), 1962–1970. https://doi.org/10.1111/hex.13335.

Nigat, A. B., Abate, M. W., Demelash, A. T., Tibebu, N. S., Tiruneh, C. M., Emiru, T. D., Yimam, M. A., Nega, A. D., & Yimer, Y. S. (2021). Knowledge on stroke warning signs and associated factors among hypertensive patients, northwest ethiopia: An institution-based cross-sectional study. Vascular Health & Risk Management, 17, 721–728. https://doi.org/10.2147/VHRM.S333394.

Shahjouei S, Sadighi A, Chaudhary D, Li J, Abedi V, Holland N, Phipps M, Zand R. (2021). A 5-decade analysis of incidence trends of ischemic stroke after transient ischemic attack: A systematic review and meta-analysis. JAMA Neurol. 78(1), 77-87. doi: 10.1001/jamaneurol. 2020. 3627. Erratum in: JAMA Neurol. 2021 Jan 1; 78(1): 120. PMID: 33044505; PMCID: PMC7551236.

Stroke Foundation. (2022). Transient ischaemic attack (TIA.). p.2. Retrieved from https://strokefoundation.org.au/media/mbeae/transient-ischaemic-attack.pdf

Tarkanyi, G., Csecsei, P., Szegedi, I. et al. (2020). Detailed severity assessment of cincinnati prehospital stroke scale to detect large vessel occlusion in acute ischemic stroke. BMC Emerg Med, 20, 64, https://doi.org/10.1186/s12873-020-00360-9.

The Global Burder of Disease. (2019). Stroke collaborators. Global, regional, and national burden of stroke and its risk factors, 1990-2019: A systematic analysis for the Global Burden of Disease Study 2019. Lancet Neurol, 20(10), 795-820. doi: 10.1016/S1474-4422(21)00252-0. Epub 2021 Sep 3. PMID: 34487721; PMCID: PMC8443449.

The National Heart, Lung, and Blood Institute: NHLBI. (2022). STROKE Causes and Risk Factors. NIH. Retrieved from https://www.nhlbi.nih.gov/health/stroke/causes

Zhelev Z, Walker G, Henschke N, Fridhandler J, Yip S. (2019). Prehospital stroke scales as screening tools for early identification of stroke and transient ischemic attack. Cochrane Database Syst Rev, 4(4), CD011427. doi: 10.1002/14651858.CD011427.pub2. PMID: 30964558; PMCID: PMC6455894.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-09-26