การเตรียมความพร้อมก่อนจำหน่ายออกจากโรงพยาบาลสำหรับผู้ดูแล ผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง
คำสำคัญ:
การเตรียมความพร้อมก่อนจำหน่าย, ผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง, ผู้ดูแล, ไวรัสโคโรนา 19บทคัดย่อ
ผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมองที่รอดชีวิตมักมีความพิการหลงเหลืออยู่จึงไม่สามารถดูแลตนเองได้ ทำให้ต้องการผู้ดูแลในการดูแลช่วยเหลือกิจกรรมต่างๆ ผู้ดูแลจึงมีบทบาทสำคัญในการฟื้นฟูสภาพผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง กิจกรรมการดูแลที่ซับซ้อนอาจส่งผลให้ผู้ดูแลเกิดความเหนื่อยล้า ความเครียด ความยากลำบากในการดูแล และมีภาระในการดูแล การเตรียมความพร้อมก่อนจำหน่ายออกจากโรงพยาบาลจะช่วยให้ผู้ดูแลมีความพร้อมและความมั่นใจในการดูแลผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมองเมื่อกลับไปที่บ้าน
ปัจจุบันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 19 ที่ผู้ดูแลจำเป็นต้องได้รับความรู้และการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสเพื่อให้ผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมองมีความปลอดภัยเมื่อกลับไปอยู่ที่บ้าน ดังนั้นบทความนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอแนวทางการเตรียมความพร้อมก่อนจำหน่ายออกจากโรงพยาบาลให้กับผู้ดูแลเพื่อให้เกิดการดูแลผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมองที่มีประสิทธิภาพและไม่ก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนกับผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง รวมถึงการมีคุณภาพชีวิตที่ดีทั้งผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมองและผู้ดูแล
References
กิ่งแก้ว ปาจรีย์. (2550). การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง. กรุงเทพฯ: บริษัท เอ็น.พี.เพรส. จำกัด.
กรมการแพทย์. (2563). แนวทางการดูแลผู้สูงอายุในช่วงที่มีการระบาดของเชื้อโควิด-19. สืบค้นจาก https://covid19.dms.go.th/Covid_Health/25630406112904AM_final.pdf
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. (2562). ข้อมูลสถิติจำนวนและอัตราการป่วย/ตาย ปี 2559 – 2561
โรคไม่ติดต่อ. สืบค้นจาก http://www.thaincd.com/2016/mission
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. (2564). แนวทางการให้วัคซีนโควิด 19 ในสถานการณ์การระบาด ปี 2564 ของประเทศไทย. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: บริษัท ทีเอส อินเตอร์พริ้นท์ จำกัด.
จารุวรรณ ปิยหิรัญ. (2563). ความรู้และทักษะที่จำเป็นของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองในสถานการณ์การแพร่ระบาดทั่วโลกของเชื้อไวรัสโคโรนา 19. วารสารพยาบาลสาธารณสุข, 34(3), 152-163.
นพรัตน์ สวนปาน, แสงทอง ธีระทองคำ, และสมนึก สกุลหงส์โสภณ. (2562). ปัจจัยทำนายความเครียดในญาติผู้ดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองในชุมชนที่เลือกสรร. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุตรดิตถ์, 11(2), 133-147.
บุษยมาส บุศยารัศมี. (2561). ความต้องการการดูแลโดยทีมหมอครอบครัว ของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ในเขตเทศบาลนครนครปฐม. วารสารแพทย์เขต 4-5, 37(2), 192-200.
บรรณฑวรรณ หิรัญเคราะห์, สุพัตรา อังศุโรจน์กุล, พรพชร กิตติเพ็ญกุล, และ ลัดดา ลาภศิริอนันต์กุล. (2555). คู่มือการฟื้นฟูสมรรถสภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง: สำหรับญาติที่ดูแลผู้ป่วยที่บ้าน. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ.
พรพิมล มาศสกุลพรรณ และคณะ. (2559). แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง (Clinical Practice Guidelines for Stroke Rehabilitation). กรุงเทพฯ: บริษัท ธนาเพรส จำกัด.
ภาวิณี พรหมบุตร, นพวรรณ เปียซื่อ, และ สมนึก สกุลหงส์โสภณ. (2557). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความเครียดในญาติผู้ดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่บ้าน. รามาธิบดีพยาบาลสาร, 20(1), 82-96.
วิชชุตา พุ่มจันทร์, ชนกพร จิตตปัญญา, และศิริพันธุ์ สาสัตย์. (2557). ปัจจัยคัดสรรที่สัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยภายหลังเกิดโรคหลอดเลือดสมองเฉียบพลัน. วารสารพยาบาลตำรวจ, 6(2), 33-43.
สุพจน์ ดีไทย, ศิริรัตน์ ปานอุทัย, และ ทศพร คำผลศิริ. (2564). ผลของการเตรียมความพร้อมก่อนจำหน่ายต่อความยากลำบากในการเผชิญปัญหาหลังจำหน่ายของผู้ดูแลผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง. พยาบาลสาร, 48(2), 170-180.
สุวัฒน์ กิติสมประยูรกุล. (2558). เวชศาสตร์ฟื้นฟูโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke rehabilitation). กรุงเทพฯ: บริษัท แดเน็กช์อินเตอร์คอร์ปอเรชั่น จำกัด.
American Stroke Association. (2020). What is stroke?. Retrieved from http://www.strokeassociation.org/STROKEORG/AboutStroke/AboutStroke_UCM_308529_SubHomePage.jsp.
Basilakos A. (2018). Contemporary Approaches to the Management of Post-stroke Apraxia of Speech. Seminars in speech and language, 39(1), 25–36.
Cohen, D. L., Roffe, C., Beavan, J., Blackett, B., Fairfield, C. A., Hamdy, S., ... & Bath, P. M. (2016). Post-stroke dysphagia: a review and design considerations for future trials. International Journal of Stroke, 11(4), 399-411.
Galvin, E. C., Wills, T., & Coffey, A. (2017). Readiness for hospital discharge: a concept analysis. Journal of advanced nursing, 73(11), 2547-2557.
Lui, S. K., & Nguyen, M. H. (2018). Elderly stroke rehabilitation: overcoming the complications and its associated challenges. Current gerontology and geriatrics research, 2018, 1-9. Retrieved from https://doi.org/10.1155/2018/9853837
Magwood, G. S., Nichols, M., Jenkins, C., Logan, A., Qunango, S., Zigbuo-Wenzler, E., & Ellis Jr, C. (2020). Community-based interventions for stroke provided by nurses and community health workers: a review of the literature. The Journal of neuroscience nursing, 52(4), 152-159.
Sennfalt, S., Norrving, B., Petersson, J., & Ullberg, T. (2019). Long-term survival and function after stroke: A longitudinal observational study from the Swedish Stroke Register. Stroke, 50(1), 53-61.
Wang, Q. S., Liu, Y., Zou, X. N., Ma, Y. L., & Liu, G. L. (2020). Evaluating the efficacy of massage intervention for the treatment of poststroke constipation: a meta-analysis. Evidence-Based Complementary and Alternative Medicine, 2020, 1-8. Retrieved from https://doi.org/10.1155/2020/8934751
Weiss, M. E., Bobay, K., Bahr, S., Costa, L., Hughes, R., & Holland, D. (2015). A model for hospital discharge preparation. The Journal of Nursing Administration, 45(12), 606-614.
World Stroke Organization. (2022). Learn about stroke. Retrieved from https://www.world-stroke.org/world-stroke-day-campaign/why-stroke-matters/learn-about-stroke
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 มหาวิทยาลัยคริสเตียน
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.