ผลของการฝึกพลัยโอเมตริกด้วยยางล้อรถยนต์ที่มีต่อพลังกล้ามเนื้อขา ในนักศึกษาของมหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ วิทยาเขตลำปาง
คำสำคัญ:
ยางล้อรถยนต์, พลัยโอเมตริก, พลังกล้ามเนื้อขาบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบผลของการฝึกพลัยโอเมตริกด้วยยางล้อรถยนต์ที่มีต่อพลังกล้ามเนื้อขา ในนักศึกษาของมหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ วิทยาเขตลำปาง และประเมินความพึงพอใจกับผู้ใช้ การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักศึกษาปริญญาตรี มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ วิทยาเขตลำปาง ที่ลงทะเบียนเรียนในรายวิชาแบดมินตัน จำนวน 40 คน โดยการสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย ด้วยการจับฉลาก จัดแบ่งกลุ่มตัวอย่างแบบแมชชิ่งกรุ๊ฟ (Matching group) กลุ่มที่ 1 ฝึกพลัยโอเมตริกด้วยยางล้อรถยนต์ กลุ่มที่ 2 ฝึกพลัยโอเมตริกด้วยกล่องไพรโอซอฟต์ ใช้เวลาในการฝึก 6 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 3 วัน ทำการทดสอบพลังกล้ามเนื้อขา จากวิธีการทดสอบยืนกระโดดไกล ยืนกระโดดสูง และแรงเหยียดขา แล้วนำผลที่ได้มาวิคราะห์ตามวิธีทางสถิติด้วย ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การเปรียบเทียบด้วยค่า “ที”(t-test Independent) โดยกำหนดความมีระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
ผลการวิจัย พบว่า หลังการฝึก 6 สัปดาห์ ผลการทดสอบยืนกระโดดไกล ยืนกระโดดสูง และแรงเหยียดขา ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 กลุ่มที่ฝึกพลัยโอเมตริกด้วยยางล้อรถยนต์จะมีค่าการทดสอบยืนกระโดดไกล ยืนกระโดดสูง และแรงเหยียดขา เพิ่มขึ้นมากกว่าก่อนการฝึก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สำหรับผลความพึงพอใจโดยรวมของผู้ใช้ของอุปกรณ์ยางล้อรถยนต์ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.68±0.59 อยู่ในระดับมากที่สุด ดังนั้น การฝึกพลัยโอเมตริกด้วยยางล้อรถยนต์ สามารถนำไปใช้ทดแทนการฝึกพลัยโอเมตริกด้วยกล่องพลัยโอซอฟท์ สำหรับใช้ในการเรียนการสอน การออกกำลังกาย หรือการฝึกนักกีฬา ซึ่งจะช่วยพัฒนาพลังกล้ามเนื้อขาได้เช่นเดียวกัน
References
จำลอง โพธิ์บุญ และ วิสาขา ภู่จินดา. (2548). การจัดการยางรถยนต์ใช้แล้วเพื่อไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ซึ่งเป็นสาเหตุของโรคไข้เลือดออก. วารสารการจัดการสิ่งแวดล้อม, 2(1), 18-46.
เจริญ กระบวนรัตน์. (2547). วิทยาศาสตร์การฝึกสอนกีฬา (Science of Coaching). กรุงเทพฯ: บริษัท สินธนาก๊อปปี้เซนเตอร์ จำกัด.
ชูศรี วงศ์รัตนะ. (2549). เทคนิคการเขียนเค้าโครงการวิจัย: แนวทางสู่ความสำเร็จ. กรุงเทพฯ: บริษัทไทเนรมิตกิจ อินเตอร์โปรเกรสซิฟจำกัด.
ซูฟียา เจะอารง. (2547). การเชื่อมโยงกับสภาวอารมณ์ของวัยรุ่นตอนปลายและผู้ใหญ่ตอนต้น (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
ยุทธนา เรียนสร้อย. (2559). ผลของการฝึกพลัยโอเมตริกควบคู่การฝึกยืดเหยียดกล้ามเนื้อแบบกระตุ้นการรับรู้ของระบบประสาทกล้ามเนื้อที่มี่อพลังกล้ามเนื้อขา. วารสารวิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ, 17(2), 42-55.
ยูโสบ ดำเต๊ะ. (2554). ผลของการฝึกพลัยโอเมตริกที่มีต่อความคล่องตัวในนักกีฬาฟุตบอล (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยทักษิณ, สงขลา.
ศิริชัย กาญจนวาสี, ทวีวัฒน์ ปิตยานนท์, และ ดิเรก ศรีสุโข. (2559). การเลือกใช้สถิติที่เหมาะสมสำหรับการวิจัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศิรินภา มายอด และ สุพิชชา รุ่งโรจน์นิมิตชัย. (2563). การผลิตตัวดูดซับไออนปรอทและไอออนซัลไฟด์จากยางรถยนต์ใช้แล้ว. วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 30(3), 416-431.
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา และ วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา มหาวิทยาลัยมหิดล. (2558). เกณฑ์สมรรถภาพทางกายนักกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (รายงานผลการวิจัย). นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหิดล.
อังคณา พันธ์หล่อ และ สมศักดิ์ เอื้ออัชฌาสัย (2560). การศึกษาคุณสมบัติเชิงกลของวัสดุแอลฟัสต์ผสมยางในรถจักรยานต์ที่ใช้แล้ว. วารสารวิศวกรรมศาสตร์ ราชมงคลธัญบุรี, 15(2),1-6.
อุดมศักดิ์ สาริบุตร. (2549). เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม.กรุงเทพฯ : โอเอสพริ้นติ้งเฮ้าส์
Akkasarakul, P. (2012). Effects of aquatic plyometric training on leg muscular power and agility in male university basketball players. Journal of Sports Science and Health, 15(2), 13-23.
Cardinale, M., Newton, R., & Nosaka, K. (Eds.). (2011). Strength and conditioning: biological principles and practical applications. New Jersey: John Wiley & Sons.
Charoenphon, S. and Kritpet, T. (2011). Effects of Land and Aquatic Plyometric Training on Leg Muscular Explosive Power and 50 Metres Breaststroke Performance of Male Youth Swimmers. Journal of Sports Science and Health, 12(3), 39-51.
Escape Fitness. (2021). About the Plyosoft Box. Retrieved from https://escapefitness.com/ product-range/plyosoft
Fisher, J., & Corcoran, K. J. (2007). Measures for clinical practice: A sourcebook. Oxford: Oxford University Press.
Ghitescu, I. G., Tudor, V., & Moanta, A. D. (2014). Study on the development of vertical jumping force in U18 junior basketball players. Procedia-Social and Behavioral Sciences, 117, 55-59.
Greg, P. (2009). Double-versus single-incision technique for open carpal tunnel release. Orthopedics (Online), 32(10), 733.
Greg, P. (2009). Double-versus single-incision technique for open carpal tunnel release. Orthopedics (Online), 32(10), 733.
Juntiya, V.,Muongmee ,P., and Tongkhambanchong, S.(2020). The Effects of Incline Surface, Flat Surface and Combined Plyometric Training on Anaerobic Parameters, Acceleration and Jumping Ability. Journal of Health, Physical Education and Recreation, 46(2), 235-250.
Krejcie and Morgan,1970 Krejcie, R. V., & Morgan, D. W. (1970). Determining sample size for research activities. Educational and psychological measurement, 30(3), 607-610.
Laia, F M., and Bangsbo, J.(2010). Speed endurance training is a powerful stimulus for physiological adaptation and performance improvements of athletes. Journal of Medicine and Science in Sports, 20(2), 11-23.
Matavulj, D., Kukolj, M., Ugarkovic, D., Tihanyi, J., & Jaric, S. (2001). Effects of pylometric training on jumping performance in junior basketball players. Journal of sports medicine and physical fitness, 41(2), 159-164.
Newton, R. U., and Kraemer, W. J. (1994). Developing Explosive Muscular Power: Implications for a Mixed Methods Training Strategy. Strength & Conditioning Journal, 16(5), 20-31.
Sandler, D. (2005). Sports power. Illinois: Human Kinetics.
Srimak, T. and Netprasert, S.(2015). Comparison of Skipping Program and Rise and Fall Bench Program for Leg Muscles Efficiency of Primary School Students 4-6 of Watluangrachawat Municipality School, Satit Ramkhamhaeng, Muang Uthai Thani. Journal of Graduate Studies in Northern Rajabhat Universities, 5(8), 95-106.
Stojanovic, M. D., Ostojic, S. M., Calleja-González, J., Milosevic, Z., & Mikic, M. (2012). Correlation between explosive strength, aerobic power and repeated sprint ability in elite basketball players. Journal of Sports Medicine and Physical Fitness, 52(4), 375.
Thomas, R. B., and Roger, W. E. (2008). Essentials of Strength Training and Conditioning. (3rd ed). Illinois: Human Kinetics.
Wilson, G. J., Murphy, A. J., and Giorgi, A. (1996). Weight and plyometric training: effects on eccentric and concentric force production. Canadian Journal of Applied Physiology, 21(4), 301-315.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 มหาวิทยาลัยคริสเตียน
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.