บทบาทพยาบาลโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
คำสำคัญ:
บทบาทพยาบาล, โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล, ส่งเสริมพัฒนาการ, เด็กปฐมวัยบทคัดย่อ
เด็กปฐมวัยเป็นวัยที่มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา เนื่องจากเป็นวัยที่เรียนรู้สิ่งต่างๆ ผ่านประสาทสัมผัสทั้งห้าด้านจากบุคคลรอบข้าง และสิ่งแวดล้อม ดังนั้นการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย จึงมีความสำคัญอย่างยิ่งเพื่อให้มีการเรียนรู้เหมาะสมตามวัย การส่งเสริมพัฒนาการต้องอาศัยความร่วมมือทุกฝ่าย เริ่มจากครอบครัว ชุมชน หน่วยงานภาครัฐ และสถาบันการศึกษา บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อส่งเสริมบทบาทที่สำคัญของพยาบาลที่ปฏิบัติงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย 4 ด้าน ได้แก่ (1) เป็นผู้ส่งเสริมบทบาทของบิดามารดา (2) เป็นผู้ให้คำแนะนำและส่งเสริมสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัย (3) เป็นผู้ประยุกต์หลักการทฤษฎีและวิธีการที่เกี่ยวข้องกับมารดาและเด็ก (4) เป็นผู้ส่งเสริมการเข้าถึงเครือข่าย ซึ่งบทบาทของพยาบาลนี้สามารถช่วยให้เด็กปฐมวัยเติบโตด้วยคุณภาพและมีความสุข อันเป็นพฤติกรรมที่ดีของเยาวชนของชาติในอนาคต
References
กระทรวงสาธารณสุข. (2559). แนวทางการดำเนินงาน Primary Care Cluster สำหรับหน่วยบริการ. สืบค้นจาก https://bps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/Guidelines%20PCC.pdf
กระทรวงสาธารณสุข. (2560). คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (Developmental Surveillance and Promotion Manual: DSPM).นนทบุรี: องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.
กาญจนา พรหมเรืองฤทธิ์, วรรณิตา สอนกองแดง, กรรณิการ์ ชัยสิทธิ์สงวน และณัทกวี ศิริรัตน์. (2562). การดูแลเด็กปฐมวัยในศูนย์เด็กเล็ก: บทบาทของครูผู้ดูแล. วารสารมหาวิทยาลัยคริสเตียน, 25(2), 109-118.
ขวัญฟ้า รังสิยานนท์, พรรัก อินทามระ, ศศิพันธ์ เปี๊ยนเปี่ยมสิน, ศิลสุภา วรรณสุทธิ์ และศิริพงษ์ ทิณรัตน์. (2562). คู่มือครูและผู้ปกครองการเสริมสร้างทักษะ EF สำหรับเด็กปฐมวัย.กรุงเทพ: เพอลังอิพับลิชชิ่ง.
จิรณัฐ ชัยชนะ และกัญญดา ประจุศิลป. (2561). การศึกษาบทบาทพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล. วารสารพยาบาลทหารบก, 19 (ฉบับพิเศษ), 193-202.
ณัฐปภัสญ์ นวลสีทอง. (2560). ผลการเล่านิทานเสริมกิจกรรมเพื่อส่งเสริมความสามารถทางภาษาของเด็กปฐมวัย.วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ, 35(2), 140-147.
ดวงฤทัย คำพะรัก, นนทชนนปภพ ปาลินทร, ทองสุข วันแสน และศิริพร อยู่ประเสริฐ. (2562). การพัฒนาการกล้ามเนื้อมัดเล็กของเด็กปฐมวัย โดยใช้กิจกรรมการปั้นสร้างสรรค์.วารสารแสงอีสาน มหาวิทยาลัยมกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน, 16(2), 484-498.
ทิพย์ภารัตน์ ไชยชนะแสง. (2560). การมีส่วนร่วมของชุมชนในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กอายุ 1 – 2 ปี. วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ, 35(4), 176-184.
ธัญลักษณ์ ตั้งธรรมพิทักษ์. (2561). การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมสุขภาพเด็กโดยชุมชนมีส่วนร่วม.วารสารพยาบาลทหารบก, 19(ฉบับพิเศษ), 222-229.
เปมิกา ไทยชัยภูมิ และวรวรรณ เหมชะญาติ. (2561). การพัฒนากรอบแนวคิดบทบาทครูในการส่งเสริมพฤติกรรมความปลอดภัยของเด็กวัยอนุบาลในโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.วารสารอิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา, 14(2), 1-11.
ยุวดี พงษ์สาระนันทกุล และสุดาภรณ์ พยัคฆเรือง. (2559). รูปแบบการสร้างเสริมพัฒนาการด้านภาษาแก่เด็กอายุ 2-4 ปี โดยบิดามารดาหรือผู้ดูแล: กรณีศึกษาศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก. Journal of Nursing Science, 34(2), 34-44.
รสวันต์ อารีมิตร, กุลวดี ศรีพานิชกุลชัย, ชาญยุทธ์ ศุภคุณภิญโญ, อรุณี เจตศรีสุภาพ, ผกากรอง ลุมพิกานนท์, สุมิตร สุตรา, … ธีรพงศ์ ขัตติยะวงศ์. (2560). แอปพลิเคชันบนอุปกรณ์พกพา เพื่อส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการเด็กไทย ปีที่ 2. (รายงานผลการวิจัย). นนทบุรี: สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข.
วิจารณ์ พานิช. (2559). เลี้ยงลูกยิ่งใหญ่. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสยามกัมมาจล.
วิจิตร จันดาบุตร, วิทยา อยู่สุข และวิโรจน์ เซมรัมย์. (2561). การพัฒนาแนวทางการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตําบลสีวิเชียร อําเภอน้ำยืน จังหวัดอุบลราชธานี. วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 13(1), 208-219.
เศกสันต์ ชานมณีรัตน์ . (2561). การประเมินผลการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ในจังหวัดเพชรบุรี.วารสารแพทย์เขต 4-5, 37(1) ,66-77.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี. (2559). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12. สืบค้นจาก https://www.nesdc.go.th/ewt_w3c/ewt_dl_link.php?nid=6422.
สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2560). รายงานการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทยครั้งที่ 6 พ.ศ.2560. สืบค้นจาก http://hp.anamai.moph.go.th/download/article/article_20190225123524.pdf.
สำนักสนับสนุนระบบสุขภาพปฐมภูมิ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. (2563). โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพแห่งตำบลติดดาว. สืบค้นจาก http://www.mdo.moph.go.th/computer/web51v2/nhso_star63.pdf.
หนึ่งฤทัย เกื้อเอียด, ปุญญพัฒน์ ไชยเมล์ และสมเกียรติยศ วรเดช. (2561). สถานการณ์และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อพัฒนาการของเด็กไทยอายุต่ำกว่า 5 ปี: การทบทวนวรรณกรรม วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้, 5(1), 281-296.
อรุณศรี กัณวเศรษฐ, พวงทิพย์ ชัยพิบาลสฤษดิ์ และสุภาวดี เครือโชติกุล. (2561). ผลของโปรแกรมการมีส่วนร่วมส่งเสริมพัฒนาการด้านภาษาต่อความรู้และการรับรู้ความสามารถของผู้ดูแลเด็กวัยปฐมวัย.วชิรสารการพยาบาล, 20(1), 40-53.
Del Tufo, S.N., Earle, F.S., & Cutting, L.E. (2019). The impact of expressive language development and the left inferior longitudinal fasciculus on listening and reading comprehension. Journal of Neurodevelopmental Disorders, 16(1), 11-37.
Eisenhower, A. S., Baker, B. L., & Blacherb, J. (2009). Children’s delayed development and behavior problems: Impact on mothers’ perceived physical health across early childhood. Social Science & Medicine, 68(1), 89–99.
Mildon, A., & Sellen, D. (2019). Use of mobile phones for behavior change communication to improve maternal, newborn and child health: a scoping review. Journal of Global Health, 9(2), 1-29.
Reticena, K.O., Yabuchi, V.N.T., Gomes, M.F.P., Siqueira, L.D., Abreu, F.C.P., & Fracolli, L.A. (2019). Role of nursing professionals for parenting development in early childhood: a systematic review of scope. Revista Latino-Americana de Enfermagem,27, 1-10. doi: 10.1590/1518-8345.3031.3213.