แนวทางในการบรรเทาความปวดสำหรับผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย

ผู้แต่ง

  • พจนา ธาระณะ พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลบรรพตพิสัย นครสวรรค์

บทคัดย่อ

          ความปวดเป็นปัญหาสำคัญที่พบได้ในผู้ป่วยโรคมะเร็ง โดยเฉพาะผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย การพัฒนาแนวทางการจัดการความปวดสำหรับผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้ายจึงมีความจำเป็นโดยอาศัยหลักการทบทวนอย่างเป็นระบบจากหลักฐานข้อมูลเชิงประจักษ์ที่เชื่อถือได้ พยาบาลมีบทบาทสำคัญในการจัดการความปวดให้มีประสิทธิภาพด้วยการพัฒนาแนวทางที่ดีสำหรับการจัดการความปวดอย่างเป็นระบบ และมีความครอบคลุมแบบองค์รวม

References

กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. (2547). แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาความปวดจากมะเร็ง.กรุงเทพฯ : ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

จิรามาศ ชูทองรัตน์. (2551). ผลของโปรแกรมการให้ข้อมูลการจัดการความเจ็บปวดด้วยตนเอง ต่อความเจ็บปวดและความพึงพอใจของผู้ป่วยมะเร็งหน่วยระงับปวดโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่. การค้นคว้าแบบอิสระหลักสูตรปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ : เชียงใหม่.

ชาลิยา วามะลุน และคณะ. (2551). การพัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้ายแบบองค์รวมในศูนย์มะเร็งอุบลราชธานี. อุบลราชธานี.

ทิพย์ถาพร เพชรประพันธ์. (2546). การรับรู้ความสามารถและการปฏิบัติของพยาบาลวิชาชีพในการบรรเทาความปวดโดยวิธีที่ไม่ใช้ยาแก่ผู้ป่วยมะเร็ง. วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. สงขลา.

วงจันทร์ เพชรพิเชฐเชียร. (2554). การพยาบาลที่เป็นเลิศในการดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็ง. สงขลา : ชานเมืองการพิมพ์.

วันเพ็ญ บุญสวัสดิ์. (2544). ผลของการนวดแผนไทยต่อการลดความปวดในผู้ป่วยมะเร็ง. วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์: สงขลา.

ศศิกานต์ นิมมานรัชต์, เต็มศักดิ์ พึ่งรัศมี, ชัชชัย ปรีชาวัย. (2553). ตำราความปวดและการระงับปวดในเวชปฏิบัติ. สงขลา : ชานเมืองการพิมพ์ .

สำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข. (2553). สถิติสาธารณสุข. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก https://bps.ops.moph.go.th/healthinformation/สถิติ52/2.3.6_52.pdf retrieved Jan 2010. (วันที่ค้น 20 มกราคม 2553).

Kwekkeboom et al. (2008). Patients' perceptions of the effectiveness of guided imagery and progressive muscle relaxation interventions used for cancer pain. Complement their clinical practice. 14(3): 185-194.

Gordon D.B.,et al. (2005). American pain society recommendations for improving the quality of acute and cancer pain management. Archives of internal medicine. 165 : 1574-1580.

Robb, K. A., Williams, J. E., Duvivier, V., & Newham, D. J. (2006). A pain management program for chronic cancer-treatment-related pain : A preliminary study. The journal of pain. 7(2) : 82-90.

WHO. (2010). [Online]. Available https://www.who.int/cancer/en/index.html. (Retrieved December 2010).

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-02-10