ทฤษฏีพฤติกรรมตามแผนกับพฤติกรรมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์

ผู้แต่ง

  • รภัทภร เพชรสุข มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต

บทคัดย่อ

          บทความนี้ นำเสนอทฤษฏีพฤติกรรมตามแผนที่ถูกพัฒนามาจากทฤษฏีการกระทำด้วยเหตุผล เพื่อใช้ในการทำนายและอธิบายการเกิดพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งมีพื้นฐานมาจากความเชื่อ อธิบายความเข้าใจความเป็นมาของทฤษฏีในแต่ละแนวคิด ที่มีการนำเอาทฤษฏีพฤติกรรมตามแผนมาประยุกต์ใช้ในพฤติกรรมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เพื่ออธิบายพฤติกรรมที่เกิดขึ้น

References

กมลทิพย์ วิจิตรสุนทรกุล. (2542). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักเรียนอาชีวศึกษาชายในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต. สาขาวิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.

เกรียงไกร ไทยตรง. (2550). พฤติกรรมการดื่มสุราของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย : กรณีศึกษาโรงเรียนเอกชนในระดับอำเภอของประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ญาณินี น้อยพันธ์ พิชญา ขจรเวหาสน์ และมณฑน์รส จิตรังษี. (2545). พฤติกรรมการดื่มสุราและการสูบบุหรี่ของนิสิตหญิงจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วิทยานิพนธ์เภสัชศาสตร์บัณฑิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นรลักขณ์ เอื้อกิจ. (2547). การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของวัยรุ่นไทยในจังหวัดกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ ปรัชญาดุษฏีบัณฑิต (การพยาบาล) มหาวิทยาลัยมหิดล.

ประกิจ โพธิอาศน์. (2541). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของวัยรุ่น จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (สุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหิดล.

ประภาพรรณ เอี่ยมอนันต์. 2551. ปัจจัยที่ส่งผลต่อทัศนคติที่มีต่อการดื่มแอลกอฮอล์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยระดับปริญญาตรีในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ ศิลปะศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล.

พรพิมล บัวสมบูรณ์. (2550). ปัจจัยการทำนายการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักเรียนอาชีวศึกษาเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พนิทกา ศรีคัฒนพรหม. (2549). ปัจจัยที่มีผลต่อทัศนคติและพฤติกรรมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และบุหรี่ของวัยรุ่นหญิงในกรุงเทพมหานคร. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

พินทุอร วิรุฬห์ตั้งตระกูล. (2550). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการตัดสินใจบริโภคเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ของนิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรีที่ศึกษาในมหาวิทยาลัยเขต กรุงเทพมหานคร. ปริญญานิพนธ์เศรษฐศาสตร์การจัดการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

รภัทภร เพชรสุข. (2553). รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของพฤติกรรมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ของนักเรียนผู้ใช้บริการหน่วยงานอนามัยโรงเรียน. วิทยานิพนธ์ ปรัชญาดุษฏีบัณฑิต มหาวิทยาลัยคริสเตียน.

รุจา ภู่ไพบูลย์ และคณะ. (2549). การพัฒนาโปรแกรมการวางแผนพฤติกรรมเพื่อป้องกันและลดพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น : ระยะที่1 การพัฒนาเครื่องมือและสำรวจพฤติกรรม. แผนงานพัฒนาสถาบันการศึกษาพยาบาลเป็นผู้นำการสร้างเสริมสุขภาพ.

ลักษณา อินทร์กลับ และคณะ. (2551). พฤติกรรมการดื่มสุราและการรับรู้ผลกระทบจากการดื่มสุราของนักศึกษาสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในเขตกรุงเทพตะวันตกและปริมณฑล. มหาวิทยาลัยคริสเตียน.

สมพล วันต๊ะเมล์. (2551). การศึกษาการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักศึกษามหาวิทยาลัย ตามแนวศึกษานิเวศวิทยาเชิงสังคม. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต. สาขาวิชาประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สมพร สิทธิสงคราม (2551). ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของวัยรุ่น.พยาบาลสาร. 35(3). กรกฏาคม-กันยายน 2551.

สายใจ ชื่นคำ. (2542). พฤติกรรมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของวัยรุ่นในสังคมไทย.วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

สาวิตรี อัษณางค์กรชัย และคณะ. (2551). รายงานผลการโครงการวิจัยการเฝ้าระวังพฤติกรรมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในประเทศไทย. เครือข่ายวิชาการวิจัยและข้อมูลด้านสารเสพติดในภาคใต้ สำนักงานวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

สิทธินันท์ เจริญรัตน์. (2543). พฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย อำเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี. วิทยานิพนธ์ ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสังคมวิทยาประยุกต์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

สุวรรณี แสงอาทิตย์. (2550). ปัจจัยทำนายพฤติกรรมเสี่ยงด้านการสูบบุหรี่ ดื่มสุรา และเสพสารเสพติดในวัยรุ่น. วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตร์มหาบัณฑิต. สาขาวิชาการพยาบาล สุขภาพเด็กมหาวิทยาลัยขอนแก่น.

หนึ่งฤทัย มีสอาด. (2551). ปัจจัยที่มีผลต่อการดื่มเบียร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายใน กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต(สาธารณสุขศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหิดล.

Ajzen, I. (1991). The Theory of Planned Behavior. Organizational Behavior and Human Decision Process. 50,179-211.

Ajzen, I. (2006). Constructiong a TpB Questionnaire: Conceptual and MethodologicalConsiderations. Retrieved September 1, 2009, from https://people.umass.edu/ajzen/pdf/tpb.Measurement.pdf.

Conner M. Warren R. Close S. and Sparks P. (1999). Alcohol consumption and theory of planned behavior : An examination of the cognitive medication of past behavior. Journal of Applied Social Psychology. 29,1676-1704.

Fishbein, M. and Ajzen, I. (1980). Understanding Attitudes and Predicting Social Behavior. New Jersey : Englewood Cliffs. Prentice-Hall Inc., Publishers.

Marcoux B. and Slope J.T. (1997). Application of the theory of planned behavior to adolescent use and misuse of alcohol. Health Education Research. 12, 323-351.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2012-12-31