“กับดักสังคมออนไลน์” บทบาทของเทคโนโลยีการสื่อสารในยุคดิจิทัล

ผู้แต่ง

  • ศุภศิลป์ กุลจิตต์เจือวงศ์ มหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอร์ด

บทคัดย่อ

          “สังคมออนไลน์” เป็นการสื่อสารที่เชื่อมโยงผู้คนจำนวนมากเข้าไว้ด้วยกัน โดยผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทำกิจกรรมบางสิ่งบางอย่าง การเข้ามามีบทบาทของสังคมออนไลน์ได้ส่งผลกระทบต่อผู้ใช้งานในด้านต่างๆ ได้แก่ พฤติกรรมการสื่อสาร ความเป็นส่วนตัว ช่องทางการตลาด พฤติกรรมการใช้ภาษา และพฤติกรรมการลอกเลียนแบบ ผู้ใช้จึงควรมีสติ พิจารณาถึงการใช้งานเครือข่ายสังคมออนไลน์อย่างเหมาะสม เพื่อป้องกันมิให้การใช้งานเกิดผลเสียต่อผู้ใช้และสมาชิกในเครือข่าย ด้วยวิธีการใช้อย่างถูกวิธีคือ 1) ไม่ควรเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลที่เป็นเรื่องส่วนตัวมากเกินไป 2) ควรมีวิจารณญานในการพิจารณา โฆษณาชวนเชื่อ 3) ใช้เพื่อสร้างคุณประโยชน์ให้กับตัวเองและสังคมอย่างเหมาะสม และ 4) แบ่งเวลาในการใช้งาน

References

กาญจนา นาคสกุล. อาจารย์ผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาไทย ราชบัณฑิตยสถาน, ผู้ให้สัมภาษณ์. มัจจุราชเงียบเมื่อเสพติดสังคมออนไลน์. เรียบเรียงจากที่เคยให้สัมภาษณ์ไว้ใน หนังสือพิมพ์ ASTV ผู้จัดการสุดสัปดาห์ ฉบับวันที่ 21-27 มกราคม 2555.

กรวิกา คงเดชศักดา. (2552). วิวัฒนาการสังคม. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2555, จาก Webboard postjung เว็บไซต์ : https://board .postjung.com/419939.html.

ขวัญวิทย์ ตาน้อย. (2555). พฤติกรรมการใช้งานเครือข่ายสังคมออนไลน์ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี. สืบค้นเมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2556, จาก https://www.research.rmutt.ac.th/archives/5908.

ธีรพงษ์ พุ่มพฤกษ์ และ ณัฐธนนท์ หงส์วริทธิ์ธร. (2553). ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพกับพฤติกรรมการใช้ภาษาไทยในสังคมออนไลน์. วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยบูรพา.

พิมพ์ใจ โพธิ์พันธุ์. (2553). พฤติกรรมการใช้งานฟังก์ชั่นเว็บไซต์ประเภทเครือข่ายสังคมออนไลน์.วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

นภัสกร กรวยสวัสดิ์. (2553). ปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดพฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์. บรรณารักษ์ ห้องสมุดและสารสนเทศวิทยาเขตหนองคาย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

เบิร์น เวอร์เนอร์. (2012). เฟสบุ๊ก สื่ออาชญากรรมออนไลน์. สืบค้นเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2556, จาก https://www.komchadluek.net/index.php.

ระบบจัดการความรู้คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี. (2555). บทความสังคมออนไลน์ภัยใกล้ตัว. สืบค้นเมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2555, จาก https://www.km.fiet.kmutt.ac.th/?p=3143.

รุ่งโรจน์ โชคงามวงศ์. (2553). สถิติที่การใช้ Facebook ของคนไทย. สืบค้นเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2554, จาก thumbsup เว็บไซต์ : https://thumbsup.in.th/2011/08/facebook-statitistic/.

ลัดดา ตั้งสุภาชัย. ผู้อำนวยการสำนักเฝ้าระวัง กระทรวงวัฒนธรรม, ผู้ให้สัมภาษณ์. มัจจุราชเงียบ เมื่อเสพติดสังคมออนไลน์. เรียบเรียงจากที่เคยให้สัมภาษณ์ไว้ในหนังสือพิมพ์ ASTV ผู้จัดการสุดสัปดาห์ ฉบับวันที่ 21-27 มกราคม 2555.

วันวิสาข์ เจริญนาน. (2555). พฤติกรรมการใช้โซเชียล มีเดีย (Social Media) ของคนกรุงเทพฯ. สำนักนักวิจัยประจำศูนย์วิจัยเอแบคนวัตกรรมทางสังคม การจัดการและธุรกิจ. มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ.

ศูนย์วิจัยเอแบคนวัตกรรมทางสังคม การจัดการและธุรกิจ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ. (2555) ผลวิจัยเชิงสำรวจเรื่องพฤติกรรมการใช้โซเชียล มีเดียของคนกรุงเทพฯ. สืบค้นเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2556, จาก https://www.isranews.org/.

สมาคมจิตวิทยาแห่งอเมริกา. (2011). ปล่อยเด็กเล่น Facebook นานเกินไป อาจนำไปสู่ความผิดปกติทางจิต. สืบค้นเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2556, จาก https://www.it24hrs.com/2011/facebook-teens-study/.

สุภาภรณ์ เพชรสุภา. (2554). เครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Network) กับการใช้ประโยชน์เพื่อการเรียนรู้ร่วมกัน. สืบค้นเมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2554, จาก https://www. kroobannok.com/blog/29071.

อภิชาติ จริยาวิลาศ. จิตแพทย์ชำนาญการ โรงพยาบาลศรีธัญญา ผู้ให้สัมภาษณ์. มัจจุราชเงียบ เมื่อเสพติดสังคมออนไลน์. เรียบเรียงจากที่เคยให้สัมภาษณ์ไว้ใน หนังสือพิมพ์ ASTV ผู้จัดการสุดสัปดาห์ ฉบับวันที่ 21-27 มกราคม 2555.

อรวรรณ วงศ์แก้วโพธิ์ทอง. (2554). การเสพติดอินเทอร์เน็ตของชุมชนชาวออนไลน์. สืบค้นเมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2555, จาก https://www.bu.ac.th/knowledgecenter/executive_journal/july_sep_11/pdf/aw6.pdf.

Nielsen. (2554). ยุคดิจิทัลครองเมือง โลกของคน Gen-C. สืบค้นเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม 2555, https://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1331050721&grpid=09&catid=no.

Social Media for Education. (2553). พฤติกรรมของผู้ใช้สื่อสังคมออนไลน์ในประเทศไทย. สืบค้นเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2554, จาก https://smeducation.wordpress.com/2011/01/18/.

@solfBiz. (2554). อันตรายจากการใช้สังคมออนไลน์ในองค์กร. สืบค้นเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2555, จาก https://www .softbizplus.com/it/1514-the-danger-of-a-social-netwark-online-at-office

Thailand Facebook Statistics-Sociabakers. (2555). สถิติการใช้งานเฟสบุ๊กทั่วโลก. สืบค้นเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2556, จาก Webboard Podtjung เว็บไซต์ : https://board.postjung.com/615754.html.

Thumbsup. (2554). สถิติที่น่ารู้ ภาพรวมการใช้ Facebook ทั่วโลก. สืบค้นเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2554, จาก https://thumbsup.in.th/2011/08/facebook-statitistic/.

Twitter effect. (2011). ความต้องการใช้ Social Network 4 ประการ. สืบค้นเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2554, จาก Twitter effect เว็บไซต์ : https://twittereffect.wordpress.com/2011/09/08/twitter.

Van Eecke, P., & Truyens, M. (2010). Privacy and Social Networks. [doi: DOI: 10.1016/j.clsr.2010.07.006]. Computer Law & Security Review, 26(5), 535-546.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2013-08-31