อาณาจักรสุโขทัยกับมรดกทางวัฒนธรรมเพื่อการท่องเที่ยว

ผู้แต่ง

  • สงกรานต์ กลมสุข มหาวิทยาลัยคริสเตียน

บทคัดย่อ

          สุโขทัย ศรีสัชนาลัย และกำแพงเพชร เป็นเมืองประวัติศาสตร์ที่ปรากฏหลักฐานร่องรอยของอารยธรรมอันรุ่งเรืองในอดีต สะท้อนให้เห็นภาพของอาณาจักรสุโขทัยในความเป็น “รุ่งอรุณ แห่งความสุข” และเป็นรุ่งอรุณของประวัติศาสตร์ชาติไทยเมื่อครั้งเริ่มก่อตั้งบ้านเมืองในฐานะรัฐอิสระจนกลายเป็นรัฐสำคัญของภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ในระหว่างพุทธศตวรรษที่ ๑๘ - ๑๙ เป็นเวลานานถึงกว่า ๒๐๐ ปี ด้วยความโดดเด่นนี้เองส่งผลให้เมืองสุโขทัย และเมืองบริวารได้รับการอนุรักษ์และพัฒนาให้เป็นอุทยานประวัติศาสตร์และได้รับการขึ้นทะเบียนไว้ในบัญชีรายชื่อแหล่งมรดกโลก เมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๔

          ในบทความเรื่องนี้ได้กล่าวถึงมรดกทางวัฒนธรรมที่ได้ก่อกำเนิดขึ้นในขณะสมัยสุโขทัยยังเป็นราชธานีของไทย ทั้งที่เกิดจากการประดิษฐ์คิดขึ้นเอง และการรับเอาวัฒนธรรมจากภายนอกแล้วนำมาปรับประยุกต์ให้เข้ากับบริบททางสังคมและวัฒนธรรมของสุโขทัย เช่น การสร้างโบราณสถานสำคัญต่างๆ ประติมากรรม จิตรกรรม ประเพณี ที่ล้วนแล้วแต่มีคุณค่าต่อสังคมไทยในปัจจุบันทั้งสิ้น อีกทั้งยังส่งผลที่ดีต่อการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ซึ่งจะทำให้นักท่องเที่ยวที่สนใจการท่องเที่ยวประเภทนี้ได้เกิดความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับมรดกทางวัฒนธรรมและสถานที่ท่องเที่ยวต่าง ๆ ในเมืองสุโขทัย และเมืองบริวารเพิ่มขึ้นด้วย

References

กนกวรรณ โสภณวัฒนวิจิตร. (๒๕๔๕). ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย. กรุงเทพฯ : สารคดี.

กรมศิลปากร สำนักโบราณคดีและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ. (๒๕๔๕). นำชม ห้องจัดแสดงประวัติศาสตร์ชาติไทย พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพระนคร. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.

กรมศิลปากร. (๒๕๔๘). อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๕๖, จาก https://www.finearts.go.th/node/357.

กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานจังหวัดสุโขทัย. (๒๕๕๖). จังหวัดสุโขทัย. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๕๖, จาก https://www.sukhothai.go.th/tour/tour_01.htm.

คณะกรรมการจัดทำสารานุกรมสุโขทัยศึกษา โครงการศูนย์สุโขทัยศึกษา สาขาวิชาประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (๒๕๓๙). สารานุกรมสุโขทัยศึกษา เล่ม ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ, สุภาภรณ์ จรัลพิพัฒน์. (๒๕๒๖). การค้าสังคโลก รายงานการสัมมนาวิเคราะห์เรือโบราณที่ค้นพบในอ่าวไทย. กรุงเทพฯ : มูลนิธิตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.

โชติ กัลป์ยานมิตร. (๒๕๔๘). พจนานุกรมสถาปัตยกรรมและศิลปะเกี่ยวเนื่อง. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ.

ประภัสสร ชูวิเชียร. (๒๕๕๕). เมืองสุโขทัย มีผู้คนอยู่มาแล้วก่อนสมัยสุโขทัย. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๕๖, จาก www.sujitwongthes.com/suvarnabhumi/2012/11/16112555/

ท่องเที่ยวจังหวัดกำแพงเพชรทางตอนเหนือ. (๒๕๕๖). [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๕๖, จาก https://www.thailandsworld.com/th/sukhothai/kamphaeng-phet/north-kamphaeng-phet/index.cfm.

ธิดา สาระยา. (๒๕๔๕). ต้นประวัติศาสตร์ไทย. กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ.

ธิดา สาระยา และคณะ. (๒๕๔๐). พลิกประวัติศาสตร์แคว้นสุโขทัย. กรุงเทพฯ : มติชน.

ประเสริฐ ณ นคร. (๒๕๔๗). การอธิบายศิลาจารึกสมัยสุโขทัย. นนทบุรี : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

พรพรรณ จันทโรนานนท์, รศ. (๒๕๔๗). ศิลปะวิจักษณ์. พิมพ์ครั้งที่ ๓. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

พิเศษ เจียจันทร์พงษ์. (๒๕๔๕). ศาสนาและการเมืองในประวัติศาสตร์สุโขทัย-อยุธยา. กรุงเทพฯ : มติชน.

ราชบัณฑิตยสถาน. (๒๕๓๓). สารานุกรมไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน เล่ม ๒๒. กรุงเทพฯ : ไทยมิตรการพิมพ์.

รุ่งอรุณแห่งความสุข. (๒๕๕๒). [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๕๖, จาก https://symposium74.wordpress.com/2009/11/06/รุ่งอรุณแห่งความสุข/.

รุ่งอรุณแห่งความสุข สุโขทัยเมืองมรดกโลก. (๒๕๕๖). [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๕๖, จาก https://pantip.com/topic/ 30650056.

วรางคณา นิยมฤทธิ์. (๒๕๕๔). บทสวดธรรมจักรเกี่ยวข้องกับไตรภูมิอย่างไร. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๕๖, จาก https://triphom.blogspot.com/.

วัดนางพญา ศรีสัชนาลัย. (๒๕๕๓). [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๕๖, จาก https://www.panoramio.com/photo/32894620.

วัดพระสี่อิริยาบถ อุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร. (๒๕๕๓). [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๕๖, จาก https://www.panoramio.com/photo/34544296.

______. (๒๕๕๕). “เจดีย์” บุญเขตอันเยี่ยม (ตอน มิติทางสถาปัตยกรรม). [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๕๖, จาก ttp://www.bloggang.com/viewblog.php?id=tilltomorrow&date=04-02-012&group=2&gblog=45

______. (๒๕๕๕). จังหวัดสุโขทัย. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๕๖, จาก https://student.nu.ac.th/oxcageton/new-page/new-page.html.

_______. (๒๕๕๕). วัดสระศรี จ.สุโขทัย. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๕๖, จาก https://www.panoramio.com/photo/61050825?tag=วัดสระศรี

วาทิน ศานติ์สันติ. (๒๕๕๕). ประวัติศาสตร์ศิลปะสุโขทัย : ประติมากรรมสุโขทัยโดยสังเขป. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๕๖, จาก https://www.gotoknow.org/posts/486337.

______. (๒๕๕๕). โบราณสถานวัดตระพังเงิน อุทยานประวัติศาสตร์จังหวัดสุโขทัย. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๕๖, จากhttps://www.thaiphotosite.com/central-thailand/615-central39.html

______. (๒๕๕๕). ประวัติศาสตร์ศิลปะสุโขทัย : พระพุทธรูปสุโขทัย. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๕๖, จาก https://www.gotoknow.org/posts/486339.

______. (๒๕๕๕). ลำดับราชธานีของไทย. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๕๖, จาก https://supawit-tongdee.blogspot.com/2012/03/blog-post_30.html

______. (๒๕๕๖). พระอจนะ (ภาพ). [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๕๖, จาก https://www.lib.nu.ac.th/pulinet4/paper/images/s_praeadjana.jpg

______. (๒๕๕๖). พระพุทธชินราช (ภาพ). [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๕๖, จาก https://www.hamanan.com/tour/phitsanulok/watyai/praputthachinnarach.jpg

______. (๒๕๕๗). วัดพระสี่อิริยาบถ จ.กำแพงเพชร. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๕๖, จาก https://www.h2th.com/articles/42079701/วัดพระสี่อิริยาบถ%20จ.กำแพงเพชร.html

______. (๒๕๕๗). วัดเจดีย์แถว จ.สุโขทัย. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๕๖,จาก www.thaigoodview.com/files/u31723/DSC_1728.jpg

ศักดิ์ชัย สายสิงห์, ศ.ดร. (๒๕๔๘). ศิลปะสุโขทัย : บทวิเคราะห์หลักฐานโบราณคดี จารึกและศิลปกรรม. กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ศิลปวัฒนธรรม. (๒๕๕๕). [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๕๖, จาก https://www.reurnthai.com/index.php?topic=4370.0

ศิลปะแบบสุโขทัย (พุทธศตวรรษที่ ๑๙-๒๐). (๒๕๕๖). [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๕๖, จาก https://dc96.4shared.com/doc/BEt4fmOa/preview.html.

ศูนย์ข้อมูลมรดกโลก กระทรวงวัฒนธรรม. (๒๕๔๓). เมืองประวัติศาสตร์สุโขทัยและเมืองบริวาร. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๕๖, จาก www.thaiwhic.go.th/download/sukhothai_thai.pdf.

ศูนย์ข้อมูลมรดกโลก กระทรวงวัฒนธรรม. (๒๕๔๓). เมืองประวัติศาสตร์สุโขทัยและเมืองบริวาร. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๕๖, จาก https://www.thaiwhic.go.th/heritage_culture.aspx.

ศูนย์ข้อมูลมรดกโลก กระทรวงวัฒนธรรม. (๒๕๔๓). เมืองประวัติศาสตร์สุโขทัยและเมืองบริวาร. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๕๖, จาก https://www.thaiwhic.go.th/article4_4.aspx

ศูนย์สารสนเทศจังหวัดที่ตั้งสาขาวิทยบริการ มหาวิทยาลัยรามคำแหง. (๒๕๔๖). จังหวัดสุโขทัย. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๕๖, จาก https://www.info.ru.ac.th/province/Sukhotai/art2.htm

สินชัย กระบวนแสง. (๒๕๒๐). ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย. พิมพ์ครั้งที่ ๒. พิษณุโลก : ศูนย์สุโขทัยศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สันติ เล็กสุขุม, ศ.ดร. (๒๕๔๙). ศิลปะภาคเหนือ : หริภุญชัย-ล้านนา. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ.

______. (๒๕๔๙). ศิลปะสุโขทัย. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ฟิสิกส์เซ็นเตอร์.

สุจิตต์ สงษ์เทศ. (๒๕๓๙). แคว้นสุโขทัย : รัฐในอุดมคติ. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ : มติชน.

สุรชัย จงจิตงาม. (๒๕๕๕). ล้านนา อาร์ตแอนด์คัลเจอร์. กรุงเทพฯ : มิวเซียมเพรส.

สุภัทรดิศ ดิศกุล, ศ.มจ. (๒๕๕๐). ศิลปะในประเทศไทย. พิมพ์ครั้งงที่ ๑๓. กรุงเทพฯ : มติชน.

สำนักโบราณคดีและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ. (๒๕๔๕). นำชม ห้องจัดแสดงประวัติศาสตร์ชาติไทย พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.

สำนักโบราณคดี กรมศิลปากร. (๒๕๔๖). นำชมอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย ศรีสัชนาลัย กำแพงเพชร. พิมพ์ครั้งที่ ๒. สุโขทัย : โรงพิมพ์วิทยา คอมพิวเตอร์-ออฟเซท.

อุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย. (๒๕๕๕). [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๕๖, จาก https://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=me-o&month=02-2012&date=28&group= 7&gblog=21.

อุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร. (๒๕๕๖). [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๕๖, จาก https://th.wikipedia.org/wiki/อุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร.

อภิวันทน์ อดุลยพิเชฏฐ์. (๒๕๔๖). นำเที่ยว ๓ เมืองมรดกโลก. กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2014-06-30