ไขมันทรานส์อันตรายที่แฝงมาในอาหารยอดฮิตของเด็กและวัยรุ่นไทย

ผู้แต่ง

  • สุภาพร เชยชิด มหาวิทยาลัยคริสเตียน

บทคัดย่อ

          กรดไขมันทรานส์เป็นกรดไขมันไม่อิ่มตัวที่พบได้ทั้งในธรรมชาติอยู่ในสัตว์เคี้ยวเอื้องและที่สำคัญเกิดจากกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรมอาหารที่มนุษย์ได้สร้าง ขี้นชึ่งมักจะพบในอาหารที่มีส่วนประกอบหลักที่เป็นเนยเทียมหรือไขมันพืชที่เรียกว่าชอร์ตเทนนิ่ง(Shortenings) เนื่องจากไขมันชนิดนี้จะช่วยให้ขนมอบมีความแข็งแรงคงรูปมีความกรอบมากกว่า มีความเปราะน้อยกว่าและแยกชั้นได้ดีส่วนอาหารทอดจะมีลักษณะผิวแห้งไม่เยิ้ม ไม่ติดมือไม่เหม็นหืนจึงทำให้เป็นที่นิยมในการผลิตขึ้นมาเพื่อจำหน่าย จากรายงานการศึกษาในคน พบว่าหากปริมาณกรดไขมันชนิดทรานส์ในอาหารสูงเพียงพอจะสามารถเพิ่มระดับคลอเลสเตอรอลชนิดไม่ดี(LDL-cholesterol)และลดระดับคลอเลสเตอรอลชนิดดี (HDL-cholesterol)ในเลือดได้ ซึ่งจะมีผลเพิ่มความเสี่ยงในการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดที่เป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทย และจากการศึกษาพบได้ว่าอาหารในกลุ่มขนมอบและอาหารทอดปัจจุบันล้วนเป็นอาหารที่กลุ่มเด็กและวัยรุ่นไทยบริโภคกันในปริมาณสูงซึ่งมีความสัมพันธ์กับระดับไขมันที่สูงขึ้นด้วย นอกจากนั้นปัจจุบันพบว่าผู้ที่เป็นโรคหัวใจและหลอดเลือดมีอายุน้อยลง การเปลี่ยนแปลงของเส้นเลือดและปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคสามารถเริ่มดำเนินมาตั้งแต่ในวัยเด็กและต่อเนื่องถึงวัยผู้ใหญ่ ดังนั้นการป้องกันโรคที่ดีที่สุดควรเริ่มตั้งแต่ในวัยเด็ก  ซึ่งควรได้รับการร่วมมือกันในการดำเนินการของผู้ปกครอง ครู โรงเรียน สื่อสารมวลชน ผู้ผลิตอาหารและรัฐบาล

References

กรดไขมันชนิดทรานส์”. (2012). [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 กันยายน 2556, จาก https://www.phamacy.mahidol.ac.th/.../knowledgeinfo.php?i.

“การติดฉลากไขมันชนิดทรานส์ สำหรับผลิตภัณฑ์ที่ส่งออกไปสหรัฐอเมริกาและแคนาดา”. (2006).Food Focus Thailand. July : 31-33.

“ไขมันทรานส์ ไขมันทรานส์ควรรู้จัก”. (2553). [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ 3 กันยายน 2556, จาก https://www.insurefordream.com/trans_fat_he_should_know.html.

ชุติมา ศิริกุลชยานนท์. (2554). โรคอ้วนในเด็กวัยเรียนจากอณู สู่ชุมชน. กรุงเทพฯ : หจก.เบสท์ กราฟฟิคเพรส.

นฤมล เด่นทรัพย์สุนทร. (2552). Fetal Programming and Cardiovascular Diseases and Dgslipdemia. โภชนาการในเด็ก ความรู้สู่ปฏิบัติ. กรุงเทพฯ : บริษัท บียอนด์ เอ็นเทอร์ไพรซ์ จำกัด.

นันทยา จงใจเทศและคณะ. (2550). รายงานการวิจัยปริมาณไขมันทรานส์ในอาหารอบและทอด. กระทรวงสาธารณสุข.

ลัดดา เหมาะสุวรรณ. (2555). โภชนาการในวัยรุ่น โภชนาการทันยุค. กรุงเทพฯ : บริษัท บียอนด์ เอ็น.เทอร์ไพรซ์ จำกัด.

“ปริมาณไขมันทรานส์ในอาหารอบและทอด”. (2550). [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ 3 กันยายน 2556, จาก https://www.nutrition.anamai.go.th/.

“โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายจากขาดเลือด”. (2556). [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ 3 กันยายน 2556, จาก https://www.siamhealth.net/public_html/Discase/heart_diseased/acs/acs.html.

“โรคหัวใจขาดเลือดเริ่มต้นในเด็ก”. (2547). [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ 3 กันยายน 2556, จาก https://www.doctordek.com/index.php/.

“โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด”ตั้งแต่เด็ก. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ 3 กันยายน 2556, จาก https://www.thaihealth.or.th.

“เลี้ยงลูกอย่างไรให้ปลอดโรคหัวใจ”. (2009). [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ 3 กันยายน 2556, จาก https://www.pcsf.org/view_article.php?q_id=18&m = 1&language.

วราภรณ์ เสถียรนพเก้า,รัชดา เกษมทรัพย์. (2554). ผลการสำรวจอาหารบริโภคโดยการสัมภาษณ์อาหารบริโภคทบทวนความจำย้อนหลัง 24 ชั่วโมง. อ้างใน : วิชัย เอกพลากร,บรรณาธิการ. รายงานการสำรวจการบริโภคอาหารของประชาชนไทย. สำนักงานสำรวจสุขภาพประชาชนไทย สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. นนทบุรี : บริษัท เดอะกราฟิโก ซิสเต็มส์ จำกัด.

สิริประภา กลั่นกลิ่น ภารดี เต็มเจริญและคำปุ่น จันโนนม่วง. (2547). “ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการโภชนาการและแบบแผนการบริโภคอาหารว่างของเด็กก่อนวัยเรียนในเขตชนบทภาคตะวันออกเฉียงเหนือ”. วารสารโภชนาการ. 39(2) : 22-26.

สุภาพรรณ ตันตราชีวธร. (2546). “โคเลสเตอรอลกับโรคหัวใจขาดเลือด”. วารสารโภชนบำบัด. 19(3) : 158-161.

Berenson GS,Srinivasan SR,Bao W,Newman WPIII,Tracy RE,Wattigney WA,for the Bogalusa Heart Study. (1998). “Association between multiple cardiovascular risk factors and atherosclerosis in children and young adults”. N Eng J Med. (338) : 1650-6.

Erin EM, Anne LW, Miehelle KM and Mark AM. (2005). “Trans Fatty acids in milk produced by women in the United states”. Am J Clin Nutr.. (82) : 1292-7.

Judd JT, Clevidence BA, Muesing RA, Wittes J, Sunkin ME and Podczasy JJ. (1994). “Dietary trans fatty acid effects of plasma lipids and lipoproteins of healthy men and women”. Am J Clin Nutr. (59) : 861-868.

Kwiterovich PO Jr. (1990). “Diagnosis and management of famillal dyslipoproteinemia in children and Adolescents”. Pediatr Clin North Am. (37) : 1489-523.

Lichtenstein AH, Ausman LM, Jalbert SM and Schaefer EJ. (1999). “Effects of different forms of dietary hydrogenated fats on serum lipoprotein cholesterol levels”. N Engl J Med. (340) : 1933.

Stmier J,Daviglus ML,Garside DB. Dyer AR,Green P,Neaton JD. (2000). “Relationship of baseline serum cholesterol level in 3 large cohorts of young men to long-term coronary.cardiovascular and all-cause mortality and longevity”. JAMA. (248) : 311-8.

Tienboon P,Fuchs G,Linpisam,Laokuidilok J, Promtet N,Suskind R. (1995). “Prevalence of hyperlipidemia in Chiang Mai boys”. Chiang Mai Med Bull.(34) : 60-1.

Tienboon P,Fuchs G,Linpisam,Laokuidilok J, Promtet N,Suskind R. (1995).

“Prevalence of hyperlipidemia in Chiang Mai girls”. Chiang Mai Med Bull. (34) : 68-9.

Wold Health. (2004). Global Strategy on Diet,Physical Activity,and Health. Fifty-seventh World Health Assembly. [Online]. Retrieved September 24, 2014, from https://www.who.int/gb/ebwha/pdf_files/WHA57/A57_R17-en.pdf.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2014-09-30