ความสำคัญของแก๊สในเลือดแดงผิดปกติ

ผู้แต่ง

  • วิไลวรรณ ตรีถิ่น มหาวิทยาลัยคริสเตียน

บทคัดย่อ

          การดูแลผู้ป่วยที่เสี่ยงต่อการเกิดภาวะวิกฤตหรือผู้ป่วยวิกฤต สิ่งที่สำคัญในการใช้ติดตามหรือทำนายการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วยคือผลการวิเคราะห์แก๊สในเลือดแดง  ระบบที่ควบคุมความสมดุลของแก๊สในเลือดแดงคือการหายใจและการทำหน้าที่ของไต ความผิดปกติของแก๊สในเลือดแดงได้แก่ Respiratory alkalosis, Respiratory acidosis, Metabolic alkalosis, Metabolic acidosis และ การผิดปกติของกรดด่างแบบผสม (Complex acid - base disorders) การสังเกตอาการและอาการแสดง ของความไม่สมดุลของกรดด่าง ตลอดจนผลการตรวจทางห้องทดลองจะทำให้พยาบาลสามารถดูแลช่วยเหลือ ผู้ป่วยได้ทันท่วงทีอย่างถูกต้องเหมาะสม

References

เฉลิมศรี สุวรรณเจดีย์. (2545). การพยาบาลผู้รับบริการในภาวะไม่สมดุลของกรด-ด่าง สารน้ำ และเกลือแร่ ในร่างกาย. กรุงเทพฯ : บริษัทบพิธการพิมพ์ จำกัด.

เทวาพร ศุภรักษ์จินดา. (2554). ความรู้และพฤติกรรมการใช้ยาในผู้สูงอายุ ตำบลสันปูเลย อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่. วารสารมหาวิทยาลัยพายัพ. 22(1) : 27-43.

Black, Joyce M. and Hawks, Jane Hokanson. (2009). Medical - Surgical Nursing : Clinical Management for Positive Outcome. 8th ed. St. Louis : Saunders Elsevier.

Brown, Abigail S. (2011). Recognizing Renal Tubular Acidosis. Nursing. 6(5) : 41-47.

Huether, Sue E. and McCance, Kahtryn L. (2008). Understanding Pathophysiology. St. Louise : Mosby Elsevier.

Lian, Jin Xiong. (2013). Using ABGs to optimize mechanical ventilation. Nursing.43(6) : 46-52.

Porth, Carol Mattson. (2011). Essentials of Pathophysiology : Concepts of Altered Health States. 3rded. Philadelphia : Lippincott Williams & Wilkins.

Timby, Barbara K. and Smith, Nancy E. (2007). Introductory Medical - Surgical Nursing. 9th ed. Philadelphia : Lippincott Williams & Wikins.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2014-09-30