แนวทางการจัดการการท่องเที่ยวที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม-คาร์บอนต่ำ ในประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • สงกรานต์ กลมสุข มหาวิทยาลัยคริสเตียน

บทคัดย่อ

          การท่องเที่ยวที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม-คาร์บอนต่ำ (Eco-Friendly and Low Carbon Tourism) เป็นแนวคิดที่เกิดขึ้นมาไม่นาน โดย “องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (อพท.)” ร่วมกับองค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศของเยอรมนี (German International Cooperation : GIZ) ได้จุดประกายให้เกิดขึ้น มีเป้าหมายเพื่อมุ่งสร้างความตระหนักในการลดการใช้พลังงาน อันจะนำไปสู่การลดปริมาณการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก ซึ่งเป็นสาเหตุหลักของภาวะโลกร้อน ดังนั้น “Low Carbon Tourism” จึงเป็นยุทธศาสตร์การพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชนเพื่อให้เกิดความยั่งยืน และต่อยอดจากแนวคิดการจัดการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ (Creative tourism) ซึ่งเนื้อหาของบทความวิชาการเรื่องนี้จะนำเสนอสองประเด็นหลัก คือ ความตระหนักถึงความสำคัญในการลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ซึ่งเป็นสาเหตุหลักที่ทำให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และประเด็นของการเสนอแนวทางในการจัดการการท่องเที่ยวที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม-คาร์บอนต่ำ (Eco-Friendly and Low Carbon Tourism) ในประเทศไทย ซึ่งมีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2558-2562)

 

References

กรมที่ดิน. (2551). สภาวะโลกร้อน (Global Warming). [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ 7 สิงหาคม 2558, จาก https://www.dol.go.th/sms/interesting.htm.

กาญจนา จินตกานนท์. (2556). เกาะหมาก ต้นแบบ LOW CARBON DESTINATION. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2558, จาก https://info.matichon.co.th/techno/techno.php?srctag=05108010256&srcday=&search=no.

ปรัญชนา พงษ์เทพนิวัติ. (2553). ปัจจัยแรงผลักดันของธุรกิจ SME ไทย ในการทำ Carbon Foot print. ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, สาขาบริหารธุรกิจ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ศูนย์สารสนเทศสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. (2557). สาเหตุที่ทำให้สภาพอากาศเปลี่ยนแปลง. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ 7 สิงหาคม 2558, จาก https://www.environnet.in.th/?page_id=3369.

สถาบันธรรมรัฐเพื่อการพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม. (2558). สถานการณ์ แนวโน้มการปล่อยก๊าซเรือนกระจกและศักยภาพในการ ลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศไทย. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2558, จาก https://measwatch.org/sites/default/files/bookfile/3.pdf.

สหกรณ์กรีนเนท. (2558). คำศัพท์โลกร้อนและการปรับตัว. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ 7 สิงหาคม 2558, จาก https://www.greennet.or.th/about/greennet.

สุพัฒน์ หวังวงศ์วัฒนา. (2551). ลดมลพิษ ด้วยกลไกการพัฒนาที่สะอาด (CDM). เอกสารประกอบการสัมนาวิชาการ เรื่อง ภาวะโลกร้อนในบริบทของสังคมไทย (Global Warming in the Thai Context). วันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 ณ Impact Convention Center.

องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน. (2555). แนวทางการจัดการการท่องเที่ยวแบบคาร์บอนต่ำในประเทศไทย. เอกสารประกอบการสัมมนาโครงการการท่องเที่ยวและการปกป้องสภาพภูมิอากาศ (อพท.-GIZ) พฤษภาคม พ.ศ. 2555.

องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก. (2553). รายงานการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของระเทศไทยระหว่างปี พ.ศ. 2543-2553. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2558, จาก https://www.tgo.or.th/2015/thai/content.php?s 1=10&s2=35.

องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก. (2558). แผนยุทธศาสตร์องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) พ.ศ. 2558-2562. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2558, จาก https://www.tgo.or.th/2015/file/download/abouttgo/แผนยุทธศาสตร์ 2558-2562.

องค์การบริหารส่วนตำบลเกาะหมาก. (2555). เกาะหมาก จังหวัดตราด : สัมผัสเสน่ห์แห่งความสงบค้นพบประสบการณ์แห่งมิตรภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : มปพ.

องค์การบริหารส่วนตำบาลเกาะหมาก. (2557). แผนที่เกาะหมาก จังหวัดตราด. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2558, จาก https://www.novabizz.com/Map/img/Map-Island_Mak.gif.

องค์การบริหารส่วนตำบาลเกาะหมาก. (2557). องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนชูเกาะหมากเป็นต้นแบบ แหล่งท่องเที่ยว Low Carbon. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2558, จาก https://www.thaipost.net/tabloid/140914/96130.

The Joint Graduate School of Energy and Environment. (2550). โครงการวิจัยย่อยการจัดทำบัญชีก๊าซเรือนกระจกในประเทศไทย. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2558, จาก https://www.jgsee.kmutt.ac.th/snc/p1_introduction.html.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2015-09-30