การออกแบบการ์ตูนสัญลักษณ์

ผู้แต่ง

  • ทรงวุฒิ ศรีรัตนมงคล มหาวิทยาลัยคริสเตียน

บทคัดย่อ

          การ์ตูนสัญลักษณ์เป็นสื่อประเภทหนึ่งที่องค์กรและหน่วยงานธุรกิจกำลังนิยมใช้เป็นกลยุทธ์ในการแข่งขันด้านธุรกิจในปัจจุบัน ซึ่งจะนำไปสู่การสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับ องค์กร ธุรกิจ และบริษัท (Brand image) ซึ่งขบวนการออกแบบการ์ตูนสัญลักษณ์ผู้ออกแบบต้องคำนึงต้องคำนึงถึงหลักการออกแบบสัญลักษณ์ควบคู่ไปกับหลักการออกแบบ Character เพื่อให้ผู้บริโภคเกิดความเข้าใจที่จะทำให้เกิดการรับรู้และจดจำอย่างรวดเร็ว ทำให้เกิดมูลค่าเพิ่มในตัวผลิตภัณฑ์ Value added และสามารถบ่งบอกถึงธรรมชาติการดำเนินงานของบริษัทได้เป็นอย่างดี

References

ชลูด นิ่มเสมอ. (2544). องค์ประกอบของศิลปะ. กรุงเทพฯ : บริษัทโรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช จำกัด.

ณัฏฐิกา เมณฑกา. (2550). ศึกษาแนวทางของการออกแบบสัญลักษณ์เพื่อการปรับภาพลักษณ์องค์กร. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบนิเทศศิลป์ ภาควิชาการออกแบบนิเทศศิลป์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ณัฐพงษ์ หอบแย้ม. (2546). การใช้ภาพเชิงสัญลักษณ์สำหรับโฆษณาสถาบันทางสื่อนิตยสาร. วิทยานิพนธ์ ปริญญาศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานฤมิตศิลป์ ภาควิชานฤมิตศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ทองเจือ เขียดทอง. (2542). การออกแบบสัญลักษณ์. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์สิปประภา.

ปาพจน์ หนุนภักดี. (2555). Graphic design principles. พิมพ์ครั้งที่ 2. นนทบุรี : ไอดีซีฯ.

วิจิตร อาวะกุล. (2534). เทคนิคการการประชาสัมพันธ์. กรุงเทพฯ : โอ เอส พรินติ้งเฮาส์.

วิรัช ลภิรัตนกุล. (2524). การประชาสัมพันธ์ฉบับสมบูรณ์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วาสนา จันทร์สว่าง และคนอื่นๆ. (2541). ภาพลักษณ์ กลยุทธ์การประชาสัมพันธ์. กรุงเทพฯ : สามเจริญพาณิชย์.

วีระชาติ นามศรี. (2549). โครงการพิเศษการออกแบบตัวการ์ตูนเพื่อประชาสัมพันธ์ งานประเพณีผีตาโขน จังหวัดเลย. ปริญญาตรีศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศิลปกรรม (ออกแบบประยุกต์ศิลป์) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม.

วิศิลป์ แซ่เตีย. (2545). การออกแบบเลขศิลป์สิ่งแวดล้อมสำหรับอุทยานแห่งชาติในประเทศไทย กรณีศึกษาอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบนิเทศศิลป์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ศิริพงศ์ พยอมแย้ม. (2537). เทคนิคงานกราฟิก. กรุงเทพฯ : โอ เอส พริ้นติ้งเฮาส์.

สืบศิริ แซ่ลี้. (2546). การออกแบบสัญลักษณ์ตัวแทนประจำจังหวัดภาคอีสาน. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบนิเทศศิลป์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

เสรี วงษ์มณฑา. (2531). สัญลักษณ์หมายถึง. กรุงเทพมหานคร : โอ เอส พริ้นติ้ง เฮาส์.

อธิวัฒน์ จุลมัจฉา. (2550). การออกแบบสัญลักษณ์เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบนิเทศศิลป์ ภาควิชาการออกแบบนิเทศศิลป์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

เอม อึ้งจิตรไพศาล. (2552). การพัฒนากระบวนการออกแบบลักษณะตัวการ์ตูนไทยสำหรับสื่อแอนิเมชัน.วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสื่อศิลปะและการออกแบบสื่อ บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2015-09-30