ผลการใช้รูปแบบการบริการการพยาบาลเชิงวิชาชีพที่บูรณาการแนวคิดลีนและการจัดการเวลาต่อการรับรู้ความผาสุกในการดำเนินชีวิตของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลการใช้รูปแบบการบริการการพยาบาลเชิงวิชาชีพที่บูรณาแนวคิดลีนและการจัดการเวลาต่อการรับรู้ความผาสุกในการดำเนินชีวิตของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ กลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลเอกชน จำนวน 20 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมอย่างละ 10 ราย กลุ่มทดลองได้รับการดูแลตามรูปแบบการบริการการพยาบาลเชิงวิชาชีพ 6 สัปดาห์ ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลแบบปกติ เก็บข้อมูลก่อนและหลังการทดลองโดยใช้แบบสอบถามการรับรู้ความ ผาสุกในการดำเนินชีวิตของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจวิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน Mann-Whitney U-test และ Wilcoxon signed ranks test ผลการวิจัยพบว่า หลังการทดลองกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยการรับรู้ความผาสุกในการดำเนินชีวิตสูงกว่าก่อนทดลองและสูงกว่ากลุ่มควบคุมทั้งโดยรวมและรายด้าน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 การวิจัยครั้งนี้สรุปว่ารูปแบบการบริการการพยาบาลเชิงวิชาชีพที่บูรณาการแนวคิดลีนและการจัดการเวลาสามารถส่งเสริมความผาสุกในการดำเนินชีวิตของผู้ป่วย ดังนั้นผู้บริหารการพยาบาลควรสนับสนุนให้นำไปใช้ในการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ และควรจัดระบบการทำงานให้มีการใช้อย่างต่อเนื่องและมีการพัฒนาต่อไป
References
ธนิตา ฉิมวงษ์. (2557). "การประยุกต์ใช้หลักการของลีนเพื่อพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยเบาหวานในคลินิกเบาหวาน โรงพยาบาลระยอง". วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข. 24(1) :121-135.
ธิวาสา ลีวัธนะ, แสงอรุณ อิสระมาลัย และช่อลดา พันธุเสนา. (2551). "การประเมินความสามารถในการดูแลตนเอง คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจแบบเปิดและปัจจัยกระทบ". สงขลานครินทร์เวชสาร. 24(2) : 141-150.
นงลักษณ์ ทองอินทร์, เพ็ญจันทร์ เสรีวัฒนาและภีรพร ด่านธีระภากุล. (2554). "ผลของโปรแกรมการจัดการตนเองต่อภาวะสุขภาพและคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจตีบที่ได้รับการขยายหลอดเลือดหัวใจ". วชิรเวชสาร. 55(1) :77-86.
บุญใจ ศรีสถิตย์นรากูร. (2553). ระเบียบวิธีการวิจัยทางพยาบาลศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 5.กรุงเทพฯ: ยูแอนด์ไอ อินเตอร์ มีเดีย.
ปัฐยาวัชร ปรากฏผล. (2553). ผลของโปรแกรมการพยาบาลแบบรวบยอดต่อคุณภาพชีวิตผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยโรคหลอดเลือดหัวใจ. วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรดุษฏีบัณฑิตสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พรทิพย์ จันทาทิพย์. (2552). ผลของการใช้รูปแบบการบริการการพยาบาลที่บูรณาการทฤษฎีการดูแลของสแวนสันและแนวคิดการจัดการเวลาต่อการรับรู้การสนับสนุนทางการพยาบาลในระยะคลอดของสตรีครรภ์แรก. วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการพยาบาล บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเซนหลุยต์.
ภาวนา วัฒนาสวัสดิ์. (2557). "ประสิทธิผลของระบบการพยาบาลแบบสนับสนุนการเรียนรู้ในการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจภายหลังได้รับการรักษาโดยวิธีขยายหลอดเลือดหัวใจ". วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก. 25(2) : 17-31.
เรณู พุกบุญมี, จันทร์วิวัฒน์ วงศ์วิวัฒน์, สุปาณี เสนาดิสัย และจุติพร แดงฉาย. (2544). "ผลของการใช้ระบบการมอบหมายงานแบบพยาบาลเจ้าของไข้ต่อความสามารถและความเป็นอิสระในการปฏิบัติิิกิจกรรมการพยาบาลและความพึงพอใจของผู้ป่วยต่อบริการพยาบาลที่ได้รับ". Rama Nurse Journal. 7(1) :27-42.
วัชนาภา ชาติมนตรี. (2556). "การใช้แนวคิดลีนในการพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาลกรณีศึกษา โรงพยาบาลตติยภูมิ". วารสารพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 25(1) :53-64.
วศินีสมศิริและจินตนา ชูเซ่ง. (2554). "ผลของการให้ความรู้อย่างมีแบบแผนต่อความรู้ การรับรู้ความสามารถและพฤติกรรมการดูแลตนเองในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจที่เข้ารับการทำหัตถการหลอดเลือดหัวใจ โรงพยาบาลสงขลานครินทร์". Princess of Naradhiwas University Journal. 3(3) :33-46.
โสน เรืองมั่นคง.(2556). ผลการใช้รูปแบบการบริการการพยาบาลเชิงวิชาชีพที่บูรณาการแนวคิดความหวังต่อการรับรู้ความผาสุกในการดำเนินชีวิตของผู้ป่วยโรคมะเร็งเต้านม. วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาบริหารการพยาบาล บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเซ็นหลุยส์.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ. (2557).สมุดบันทึกสุขภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ. เพชรบุรี : สุรชัยการพิมพ์.
สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค.( 2557). ประเด็นสารรณรงค์วันหัวใจโลก ปี พ.ศ. 2557. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ 9 กันยายน 2558, จากhttp://www.ddc.moph.go.th/login/filedata/57-WorldHeart290957.pdf.
สมจิตต์วงศ์สุวรรณสิริ. (2549). การพัฒนารูปแบบการพยาบาลผู้ป่วยโรคหัวใจ. กรุงเทพฯ: สามเจริญพาณิชย์.
อัญชุลี ไชยวงศ์น้อย. (2557). ผลของการดุแลแบบเอื้ออาทรของสแวนสันต่อการทำกิจวัตรประจำวันและความผาสุกของผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง. วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา.
ออมสิน ศิลสังวรณ์. (2555). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความผาสุกของผู้สูงอายุ. วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร.
Al-Windi, A., Dag, E., & Kurt, S. (2002). "The influence of perceived well-being and reported Symptoms on health care utilization: A population-based study". Journal of ClinicalEpidemiology. (55) :60-66.
Burns, N., & Grove, S. K.(2005). "The practice of nursing research conduct, critique, and utilization". 5 ed. Philadelphia :Elsevier saunders.
Dunn, H. L. (1973). High- level wellness. Arlington Verginia :beatty.
Graban M. (2012). "Lean in hospitals: Improving quality, patient safety, and employee Satisfaction". 2 ed. Boca Raton: Taylor & Francis.
Katz, R. & Purcell, H. (2006). Acute coronary syndrome. London: Elsevier.
Kelly, P. (2012). Nursing leadership & management. 3 ed. New York: Delmar Learning.
Musil, M. C., Morris, L. D., Haug, R .M.,Wamer, B. C. & Whelan, T. A. (2001). "Recurrent symptoms: Well-being and management". Social Science & Medicine. (52) : 1729-1740.
New York Heart Association. (2003). New York heart association classification of CHF patients. [Online]. Retrieved November 5, 2015, from http://www.chronic heart failure Classification.htm.
O’Neil, A., Kristy, S., Brain, O. (2010). "Depression as a predictors of work resumption following myocardial infarction (MI): A review of recent research evidence". Health and Quality of Life Outcomes.8(1) :95-105.
Polifko, K.A. (2007). Concept of nursing profession. New York: Thomson Delmar Learning.
Polit, D. F., &Hungler, B. P. (1999). Nursing research principles and methods. 6ed. Philadephia: Lippincott.
Prescott, R. A., Phillips, C. Y., Ryan, J. W., & Thompson, K. O. (1991)." Changing how nurse spend their time". Journal of Nursing Scholarship. 23(1) : 23-27.
Sarkar, U., Ali, S., & Whooley, M. (2007). " Self-efficacy and health status in patients with Coronary heart disease: Findings from the heart soul study". Psychosomatic Medicin. (69) : 306-312.
Womack, J. P, & Jones, D. T. (2003). Lean thinking: Banish waste and create wealth in yourcorporation. New York : Simon & Schuster.
World Heart Organization [WHO]. (2011). Cardiovascular diseases (CVDs).[Online]. Retrieved August 19, 2015, from http://www.who.int/mediacentre/factsheets/fs317/en/index.html.