การสังเคราะห์ตัวแบบระบบประเมินผลเพื่อการส่งต่อการรักษาพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
บทคัดย่อ
การสังเคราะห์ตัวแบบเป็นสิ่งสำคัญก่อนพัฒนาระบบเพื่อช่วยแก้ปัญหาผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังและความต้องการด้านสุขภาพที่เพิ่มขึ้นแต่บุคลากรและหน่วยบริการไม่ เพียงพอ วิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนาเพื่อสังเคราะห์ตัวแบบและประเมินความเหมาะสมของตัวแบบระบบ ประเมินผลเพื่อการส่งต่อการรักษาพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง วิธีดำเนินการวิจัยมี 3 ขั้นตอน 1) ศึกษาสภาพปัจจุบันเกี่ยวกับปัญหาและความต้องการให้บริการด้านการรักษาพยาบาลและการส่งต่อโดยการสนทนากลุ่มและสอบถามบุคลากรผู้ดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง 2) สังเคราะห์องค์ประกอบและพัฒนาตัวแบบ โดยประยุกต์ใช้ระบบสนับสนุนการตัดสินใจร่วมกับสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ 3) ประเมินตัวแบบ ผลการวิจัยพบว่า 1) ตัวแบบระบบมีองค์ประกอบ 3 โมดูล คือ (1) โมดูลกลไกการทำงานสำหรับส่วนต่อประสานของผู้ใช้ (2) โมดูลกลไกการทำงานสำหรับระบบสนับสนุนการตัดสินใจ ประกอบด้วยการจัดการข้อมูลจัดการความรู้และจัดการตัวแบบ (3) โมดูลการนำเสนอและ 2) ผลประเมินความเหมาะสมตัวแบบอยู่ในระดับมาก ผลการวิจัยสะท้อนให้เห็นระบบที่พัฒนาจากตัวแบบที่เหมาะสมช่วยแก้ปัญหาผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง โดยเพิ่มประสิทธิภาพบุคลากรและระบบบริการสุขภาพ
References
คณะกรรมการพัฒนาระบบบริการที่ตอบสนองต่อปัญหาสุขภาพที่สำคัญ (สาขาโรคไต). (2556). แนวทางพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไต. กรุงเทพฯ: สำนักบริหารการสาธารณสุข สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข.
ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์. (2551). การวิเคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศ (Information System Analysis and Design). กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชัน.
ทวี ศิริวงศ์.. (2550). Update on Chronic Kidney Disease Prevention: Strategies and Practical Points. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย.
บุษกร สงวนพฤกษ์. (2544). ต้นแบบการวินิจฉัยโรคระบบทางเดินหายใจ. วิทยานิพนธ์ปริญญา วิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์มหาวิทยาลัยศิลปากร.
พีรพงศ์ ตั้งจิตเจริญ. (2558). รอยผลึก จารึกไว้ในใจเธอ เล่ม 1. นนทบุรี : เฮลธ์ เวิร์ค จำกัด.
เพชราภรณ์ อาจศิริ. (2553). การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารงานวิชาการ โรงเรียนบ้านหนองตะลุมปุ๊ก อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต. การบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
พรพิมล มามีสุข และจนัทนาจันทราพรชัย. (2556). "ระบบแนะนำอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคไต". Veridian E-Journal. SU 6(1): 894-902.
รวีวรรณ พงศ์พุฒิพัชร และคณะ. (2556). "ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังก่อนการบำบัดทดแทนไต." วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ. 31(1) : 52-61.
สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย. (2559). Dialysis Review for Nurses 2016. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์กรุงเทพเวชสาร.
สุกัญญา ประจุศิลปะ. (2550). สารสนเทศทางการพยาบาล. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุกัญญา ศรีประไพพงศาล. (2540). ระบบผู้เชี่ยวชาญการปฐมพยาบาล. สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ. (2558). คู่มือบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2559 การบริหารงบบริการผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง. กรุงเทพฯ: ธนาเพลส จำกัด.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ. (2555). คู่มือการจัดการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะเริ่มต้น. กรุงเทพฯ : ยูเนียนอุลตร้าไวโอเร็ต จำกัด.
อุปถัมภ์ ศุภสินธุ์. (2551). "คำแนะนำเกี่ยวกับอาการสำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง”.วารสารสมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย. 14(3) : 43-50.
อำนาจ ชัยประเสริฐ. (2551). "การศึกษาความชุกของโรคไต เรื้อรังในประเทศไทย”. วารสารสมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย. 14(2) : 16-23.
Ingsathit A., et al. (2009). " Prevalence and risk factors of chronic kidney disease in the Thai adult populationstudy". Nephrology dialysis Transplantation. 25(5) : 669.
KDIGO BP Work Group. (2012). " KDIGO Clinical Practice Guideline for the Management of Blood Pressure in Chronic Kidney Disease". Kidney international supplements.2(5) : 337-414.
NKF-KDIGO. (2013). " KDIGO 2012 Clinical PracticeGuideline for the Evaluation and management of Chronic Kidney Disease". Kidney international supplements. 1(3) : 5-112.
Radhakrishnan Jai., et al. (2014). "Taming the chronic kidney disease epidemic : a global view of surveillance efforts". Kidney international. 86(2) : 190.
Rani, A. U. (2011). "Nurse role in prevention of chronic kidney disease (CKD )". International Journal of Nursing education. 3(2) : 125-127.
Roventa E., & Rosu, G. (2009). "The diagnosis of some kidney diseases in a small prolog Expert System. International Workshop on Soft Computing Applications". 29(1) : 219-224.
S-J Hwang., et al. (2010). "Epidemiology, impact and preventive care of chronic kidney disease in Taiwan. Nephrology". 15(2) : 3-9.
United States Renal Data System .(2011). Key Points: Living With Stage 4 Kidney Disease. [On line]. Retrieved June 1, 2014, from https://www.kidney.org/patients/peers/stage4.
Wen-Hsiang Lai and Hsin-Cheng Tsen. (2012). Exploring the relationship between system development life cycle and knowledge accumulation in Taiwan's IT industry. [On line]. Retrieved April 12, 2015, from https://onlinelibrary.wiley.com/doi/10.1111/j.1468-0394.2012.00630.x/full.