ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเยาวชน

ผู้แต่ง

  • ปรีชา พินชุนศรี มหาวิทยาลัยคริสเตียน

บทคัดย่อ

          เทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบันมีความจำเป็นอย่างยิ่งต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ ทั้งต่อตนเอง องค์กรและสังคม และสามารถสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันในยุคที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ด้านการศึกษารัฐบาลพยายามส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาขีดความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาให้ทัดเทียมกับนานาชาติ โดยจัดหาเครื่องมือและจัดให้มีระบบการเรียนแบบอิเล็กทรอนิกส์เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต แต่ผลกระทบทางลบหรือผลเสียก็อาจเกิดขึ้นได้ถ้าขาดการควบคุมและดูแลอย่างจริงจังผลกระทบที่เกิดขึ้นกลายเป็นความขัดแย้งระหว่างผู้ควบคุม ดูแลกับเยาวชน เนื่องจากความแตกต่างระหว่างผู้ควบคุมดูแลและเยาวชน ซึ่งไม่เข้าใจเทคโนโลยีสารสนเทศและรู้ไม่เท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี เยาวชนจึงได้รับผลกระทบทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ แสดงความก้าวร้าวหรือมีพฤติกรรมเลียนแบบ  ดังนั้น การแก้ไขปัญหาจากผลกระทบทางลบที่มีต่อเยาวชน โดยทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ พ่อ แม่ ผู้ปกครอง หน่วยงานทางสังคมทั้งภาครัฐและเอกชนต้องร่วมกันช่วยดูแล และติดตามพฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของเยาวชนเพื่อลดปัญหาที่จะส่งผลกระทบต่อเยาวชนให้น้อยลง

References

กรกมล กำเนิดกาญจน์. (2550). พฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของนักเรียนโรงเรียนสามเสนวิทยาลัย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา กรุงเทพมหานคร เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.

กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. (2552).แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ฉบับที่ 2. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2560 ,จาก www.mict.go.th/ewt_news.php?nid=74.

กระทรวงศึกษาธิการ.พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ 8 มกราคม 2560 , จาก https://www.moe.go.th/edtechfund/fund/images/stories/laws/prb_study(final).pdf.

กาญจนาพร อินตาวงศ์. (2552). ความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการจัดการความขัดแย้งของผู้บังคับบัญชาและความไว้วางใจต่อผู้บังคับบัญชากับความพึงพอใจต่อการบังคับบัญชา. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

กิตติศักดิ์ กองหนูเพ็ชร์และคณะ. พื้นฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศ ช่วงชั้นที่ 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 - 6 สสวท. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม 2560, จาก https://neung.kaengkhoi.ac.th/information1/techno_3_2.html

จิราพร เยี่ยมขันติถาวร. (2550). การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอร์ของเยาวชนในชุมชนเมือง : กรณีศึกษาชุมชนหมู่ที่ 3 อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการวิจัยและพัฒนาเมือง บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม.

ชูพันธ์ ชมพูจันทร์. เทคโนโลยีและการเปลี่ยนแปลงที่ส่งผลต่อประชาคมโลก. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2560 , จาก https://www.baanjomyut.com/library/global_community/07.html.

ฐิตารีย์ องอาจอิทธิชัย.ประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศ. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2560 , จาก https://blog.eduzones.com/moobo/78858.

ดวงพร หุตารมย์. (2550). การลดพฤติกรรมติดเกมออนไลน์ของเยาวชน : กรณีศึกษาผู้ผ่านการอบรมจากศูนย์ป้องกันและแก้ไขปัญหาเด็กติดเกม สถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นราชนครินทร์. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนามนุษย์และสังคม(สหสาขาวิชา) บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ธนาพร มาสกุล. (2547). ความสัมพันธ์ระหว่างวุฒิภาวะทางอารมณ์ของผู้บริหารกับวิธีการแก้ปัญหาความ ขัดแย้งในการปฏิบัติงานของผู้ใต้บังคับบัญชา. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์.

บรรจง เขื่อนแก้ว. (2552). รูปแบบการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสำหรับสถาบันอุดมศึกษาไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสารสนเทศศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ปรลินทร์ เขียวพราย. (2554). ศึกษาและเปรียบเทียบพฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของนักศึกษาหญิงและนักศึกษาชาย ระดับอาชีวศึกษาในโรงเรียนราชบุรีบริหารธุรกิจ. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรอุตสาหกรรม มหาบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี.

นันทิดา นิวงษา. ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน 2560, จาก https://www.satit.su.ac.th/ soottin/471301/ impactOfTechno.pdf.

รัตนาวดี นาคมูล. (2551). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการปฏิบัติหน้าที่กับพฤติกรรมการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมเครือข่ายกองทุนหมู่บ้านระดับตำบล จังหวัดอุตรดิตถ์. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตร มหาบัณฑิต สาขาการบริหารและพัฒนาประชาคมเมืองและชนบท มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตภ์.

วัชระ บุญมี. (2554). การศึกษาพฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของนักศึกษาหญิงและนักศึกษาชายระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพขั้นสูง(ปวส.)ในวิทยาลัยเทคนิคหนองคาย. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรอุตสาหกรรมมหาบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี.

ศูนย์คุณธรรม(องค์การมหาชน).การแก้ปัญหาเด็กติดเกม. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2560, จาก https://www.moralcenter.or.th/ewt_news.php?nid=878&filename=index.

สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. การรู้ดิจิทัล (Digital literacy). [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม 2560, จาก https://www.nstda.or.th/th/nstda-knowledge/142-knowledges/2632.

สุรศักดิ์ ปาเฮ. (2551). ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21.[ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ 8 มกราคม 2560 ,จาก https://www.addkutec3.com.

สมบัติ บุญเลี้ยง. (2550). ความขัดแย้งภายในครอบครัวของประชาชนในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์. รายงานการวิจัยสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์.

อัญชนา พานิช. (2550). องค์ประกอบประสิทธิผลองค์การ. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ภาควิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

อัญชลี ฉัตรกุล ณ อยุธยา. (2546). พฤติกรรมสุขภาพเยาวชนในสังคมเมือง. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาการวิจัยและพัฒนาเมือง บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันราชภัฏจันทรเกษม.

อรรณพ ธนัญชนะ. (2550). พฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของนักศึกษาและบุคลากรของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ปริญญาเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2017-09-30