บทบาทของผู้ตรวจสอบภายในต่อการจัดการความเสี่ยงขององค์กรในยุคไทยแลนด์ 4.0
บทคัดย่อ
บทความวิชาการเรื่องบทบาทของผู้ตรวจสอบ ภายในต่อการจัดการความเสี่ยงขององค์กรในยุคไทยแลนด์ 4.0 มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับบทบาทของผู้ตรวจสอบภายในต่อการจัดการความเสี่ยงขององค์กรเพื่อการนำมาประยุกต์บทบาทของผู้ตรวจสอบภายในในการเพิ่มมูลค่าจากการตรวจสอบ และการเป็นที่ปรึกษาด้านระบบการควบคุมภายในทางธุรกิจ ด้านการบริหารจัดการ ด้านการเงิน และด้านการบริหารความเสี่ยงโดยการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับบทบาทของผู้ตรวจสอบภายในจากเอกสาร บทความและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องจากการทบทวนวรรณกรรมพบว่า ผู้ตรวจสอบภายในเป็นผู้มีส่วนร่วมในการจัดการความเสี่ยงขององค์กรเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ องค์กรจึงต้องมีการประยุกต์บทบาทเพื่อเพิ่มความสามารถในการจัดการความเสี่ยงแบบองค์รวม กล่าวคือ ความสามารถของการจัดการความเสี่ยงทางการเงินความสามารถของการจัดการความเสี่ยงขององค์กรทั้งในด้านสังคม จรรยาบรรณ สิ่งแวดล้อมและการปฏิบัติงานและผู้ตรวจสอบภายในจำเป็นต้องมีทักษะการวิเคราะห์ การพัฒนาแนวคิด หลักเกณฑ์ใหม่ๆ ตลอดจนความเป็นอิสระและเที่ยงธรรมในการปฏิบัติงานตรวจสอบซึ่งในอนาคตอาจต้องมีการศึกษาถึงปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในเพื่อส่งเสริมให้การปฏิบัติงานตรวจสอบภายในได้รับการพัฒนาคุณภาพ และเป็นประโยชน์ต่อองค์กรอย่างแท้จริง
References
ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2015). ความเสี่ยงในระบบ e-Payment.[ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ 10 เมษายน 2560 จาก https://www.bot.or.th/Thai/PaymentSystems/Others/PaymentRisk/Pagesdefault.aspx.
แนวปฏิบัติการตรวจสอบภายใน - กลุ่มงานตรวจสอบภายในระดับกรม. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ 10 เมษายน 2560 จาก www.audit.moi.go.th/pdf_new/14-2.pd.
เมธา สุวรรณสาร. (2016). การจัดการความเสี่ยงขององค์กรทั่วไป. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ 10 เมษายน 2560 จาก www.itgthailand.com/wp-content/.
เมธา สุวรรณสาร. (2017). Information Technology Governance. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ 10 เมษายน 2560 จาก www.itgthailand.com/tag/.
เรวัต ตันตยานนท์. (2560). SMES Knowledge community. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ 10 เมษายน 2560 จาก https://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/640132.
วีรไท สันติประภพ. (2560). นิยาม Thailand 4.0 คืออะไร-ไทยอยู่ตรงไหนจะสร้างคนที่ครบคนรับโลกใหม่อย่างไร. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ 10 เมษายน 2560 จาก https://thaipublica.org/2017/02/veerathai -Thailand-4-0/.
Ball, R. (2009). ''Market and political / regulatory perspectives on the recent accounting scandals'' Journal of Accounting Research. (47) : 277-323.
Beasley, M. S., R. Clune & D. R. Hermanson. (2008). ''The impact of enterprise risk management on the internal audit function'' Journal of Forensic Accounting. (9) : 1-20.
Coleman, T.S. (2012). A practical guide to risk management (a summary). Research foundation of CFA institute. [Online]. Retrieved August 20, 2014, from https://www.cfainstitute.org/learning/products /publications/contributed/Pages/ a_practical_guide_to_risk_management__summary_.aspx.
Coram, P., Ferguson ,C., & Moroney, R. (2008). ''Internal audit, alternative internal audit structures and the level of misappropriation of assets fraud'' Accounting and Finance. (48) : 543-559.
Desender, K. (2007). On the Determinants of enterprise risk management. [Online]. Retrieved August 20, 2014, from https://ssrn.com/abstract=1155218.
Dionne, G. (2013). Risk management: history, definition and critique. [Online]. Retrieved August 20, 2014, from https://ssrn.com/abstract=2231635 or https://dx.doi. org/10.2139/ssrn.2231635.
George-Silviu, C. (2014). ''Analysis of internal audit practices on FTSE100'' Procedia Economics and Finance. (15) : 1265-1272.
Hermanson, D. R., Ivancevich, D. M. &Ivancevich, S. H. (2008). "Building an Effective Internal Audit Function: Learning from SOX Section 404 Reports" .Review of Business. (28) : 13-18.
Hoyt, E. R., & Liebenberg P. A. (2011). ''The value of enterprise risk management''Journal of Risk and Insurance. (78) : 795-822.
Klaus Schwab. (2017). The Fourth Industrial Revolution. [Online]. Retrieved April 10 , 2017 From https://www.weforum.org/.../the-fourth-industrial-revolution-by-klaus-sc.
Munteanu, V. & Zaharia, D. L. (2014). ''Current trends in internal audit''. Procedia - Social and Behavioral Sciences. (116) : 2239-2242.
Pagach, D. & Warr, R., (2010). The effects of enterprise risk management on firm performance.[Online]. Retrieved August 20, 2014, from https://www.garp.org/edia/51855/firm%20performance%20and%20the%20implementation%20of%20erm%20-%20.
Sarbanes-Oxley Act, (2002). Summary and Introduction. [Online]. Retrieved 22 July, 2017, from www.soxlaw.com/introduction.htm.
Tamosiuniene, R. & Savcuk, O. (2007). ''Risk management in lithuanian organizations relation with internal audit and financial statement quality'' Theory and Practice. (5) : 204-213.
The institute of internal auditors. (2004). The role of auditing in enterprise-wide risk management. Retrieved August 20, 2014. [Online]. from www.theiia.org, https://na.theiia.org/standardsguidance/Public%20Documents/PP%20The%20Role%20of%20Internal%20Auditing%20 in%20Enterprise % 20Ri.
The Institute of Internal Auditors. (2013). International standards for the professional practice of internal auditing the institute of internal auditors. [Online] .Retrieved August 20, 2014, from https://na.theiia.org/standards-guidance/mandatory-guidance/Pages/Standards.aspx.