พฤฒพลัง: มุมมองความเข้าใจเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต

ผู้แต่ง

  • เวหา เกษมสุข มหาวิทยาลัยศิลปากร

คำสำคัญ:

พฤฒพลัง, มุมมอง, การเรียนรู้ตลอดชีวิต

บทคัดย่อ

          การเปลี่ยนแปลงด้านโครงสร้างประชากรและการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุของหลายประเทศรวมทั้งประเทศไทย ส่งผลกระทบหลายประการ ทั้งด้านเศรษฐกิจ สวัสดิการสังคม การแพทย์และการสาธารณสุขและวิถีชีวิต ดังนั้นการเข้าใจความสูงอายุ การมีทัศนคติเชิงบวกและการเห็นคุณค่าในผู้สูงอายุจึงมีความสำคัญ เพื่อส่งเสริมพฤฒพลังและความสามารถในการดำเนินชีวิตให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี การเข้าใจผู้สูงอายุอย่างเป็นองค์รวม เพื่อการจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตมีความสำคัญ การศึกษาตลอดชีวิตเป็นเครื่องมือของรัฐในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนทุกวัยในชุมชนและสังคม รวมทั้งเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับส่งเสริมคุณภาพชีวิตมนุษย์ทุกช่วงวัยตั้งแต่เกิดจนตายเพราะเป็นสิ่งที่ช่วยพัฒนาคนให้มีความรู้ สามารถปรับตัวที่จะดำเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสม ในสภาพสังคม สิ่งแวดล้อมของโลกที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและสลับซับซ้อน

References

กรมกิจการผู้สูงอายุ. (2559). แผนกลยุทธ์กรมกิจการผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2559, จาก https://www.dop.go.th/main/knowledge_.

กรมกิจการผู้สูงอายุ. (2559). สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย ปี 2557. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2559, จาก https://www.dop.go.th/main/knowledge_.

ชื่นฤทัย กาญจนะจินดา และคณะ. (2550). สุขภาพคนไทย 2550. นครปฐม: พิมพลักษณ์.

ประเวศ วะสี. (2557). เครือข่ายอำเภอเพื่อดูแลผู้สูงอายุแบบบูรณาการ. ในสุพัตรา ศรีวณิชชากร (บรรณาธิการ). เวทีเรียนรู้เครือข่ายอำเภอเพื่อดูแลผู้สูงอายุแบบบูรณาการ. นนทบุรี: สหมิตรพริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.

ประเสริฐ อัสสันตชัย. (2554). หลักพื้นฐานทางเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ. ในประเสริฐ อัสสันตชัย (บรรณาธิการ). ปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยในผู้สูงอายุและการป้องกัน. กรุงเทพฯ: ยูเนี่ยน ครีเอชั่น.

ปิยะวัฒน์ ตรีวิทยา. (2559). กรอบแนวคิดเกี่ยวกับคุณภาพชีวิต concept of quality of life. วารสารเทคนิคการแพทย์เชียงใหม่, 49(2), 171-184.

มูลนิธิสถาบันวิจัย และพัฒนาผู้สูงอายุไทย. (2557). สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. ๒๕๕๗. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย.

รัชนี โตอาจ. (2557). สังคมผู้สูงอายุ: นัยต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2560 จาก https://www.stou.ac.th/stouonline/lom/data/sec/Lom12/home.html.

ลัดดา ดำริการเลิศ. (2557). สถานการณ์ผู้สูงอายุและระบบบริการผู้สูงอายุ. ในสุพัตรา ศรีวณิชชากร (บรรณาธิการ). เวทีเรียนรู้เครือข่ายอำเภอเพื่อดูแลผู้สูงอายุแบบบูรณาการ. นนทบุรี: สหมิตรพริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.

วิไลพร วงค์คีนี, โรจนี จินตนาวัฒน์ และกนกพร สุคำวัง, (2556). "ปัจจัยทำนายพฤฒพลังของประชากรเขตเมือง จังหวัดเชียงใหม่". พยาบาลสาร. 40(4): 91-99.

ศิริณา จิตต์จรัส และพีรเทพ รุ่งคุณากร. (2560). บทเรียนการประเมินผลโครงการสร้างสุขของผู้ป่วยเรื้อรัง จังหวัดนครปฐม. วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์ออนไลน์, 7(1), 81-90.

ศรีเรือน แก้วกังวาล. (2553). จิตวิทยาพัฒนาการชีวิตทุกช่วงวัย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกระทรวงการพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย์. (2557). ประชากรสูงอายุไทย: ปัจจุบันและอนาคต. กรุงเทพฯ: กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2543). ยุทธศาสตร์การเรียนรู้ตลอดชีวิตในศตวรรษที่ 21: สหราชอาณาจักร. กรุงเทพฯ: องค์การค้าคุรุสภา.

สุมาลี สังข์ศรี. (2544). รายงานการวิจัยการศึกษาตลอดชีวิตเพื่อสังคมไทยในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.

อัจฉรา สากระจาย. (2557). แนวทางการจัดการศึกษานอกระบบเพื่อส่งเสริมการศึกษาตลอดชีวิต การศึกษาตลอดชีวิตและการศึกษานอกระบบ. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

อาชัญญา รัตนอุบล, วีระเทพ ปทุมเจริญวัฒนา, วรรัตน์ ปทุมเจริญวัฒนา, ปาน กิมปี, และระวี สัจจโสภณ. (2554). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์การศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตของผู้สูงอายุไทย. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2561, จาก https://www.thaitgri.org/?p=37404.

Boeree, C. G. (2006). Personality Theories. [Online]. Retrieved 5 november, 2016 from https://www.social-psychology.de/do/pt_erikson.pdf.

Crowther, M. R., Parker, M. W., Achenbaum, W. A. . Larimore, W.L. & Koenig, H. G. (2002). Rowe and Kahn's Model of Successful Aging Revisited: Positive Spirituality-The Forgotten Factor. The Gerontologist, 42(5), 613-620.

Mauk, K. L. (2010). Teaching older adults. In K. L. Mauk (Ed.). Gerontological nursing: Competencies for care. Boston, MA: Jones and Bartlett.

Wold Health Organization. (2002). Active Ageing A policy Framework. [Online]. Retrieved 23 may, 2016, from https://apps.who.int/iris/bitstream/10665/67215/1 WHO_NMH_NPH_02.8.pdf.

World Health Organization. (2013). Chronic diseases. [Online]. Retrieved 31 October, 2013, from https://www.who.int/topics/ chronic_diseases/en/.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2018-03-31