การเปิดรับข่าวสาร การรับรู้ความเสี่ยง และการรับรู้ถึงประโยชน์ที่มีผลต่อความตั้งใจใช้บริการธนาคารบนโทรศัพท์มือถือของผู้บริโภคในจังหวัดกาญจนบุรี

ผู้แต่ง

  • ธนะชัย หนันแก้ว

คำสำคัญ:

การเปิดรับข่าวสาร, การรับรู้ความเสี่ยง, การรับรู้ถึงประโยชน์, ความตั้งใจใช้บริการ

บทคัดย่อ

          การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของการเปิดรับข่าวสาร การรับรู้ความเสี่ยง และการรับรู้ถึงประโยชน์ต่อความตั้งใจใช้บริการธนาคารทางโทรศัพท์มือถือของผู้บริโภคในจังหวัดกาญจนบุรี กลุ่มตัวอย่างได้เลือกมาจากผู้ใช้บริการธนาคารทางโทรศัพท์มือถือในจังหวัดกาญจนบุรี โดยใช้การสุ่มตัวอย่างโดยไม่ใช้ความน่าจะเป็นและใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง จำนวน 405 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามสร้างตามวัตถุประสงค์และกรอบแนวความคิดที่กำหนดขึ้น ทดสอบและการประเมินเครื่องมือวิจัยด้วยการตรวจความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาและการหาค่าความเชื่อมั่น สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และสถิติวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุ

          ผลการวิจัย พบว่า 1) การเปิดรับข่าวสารมีความสัมพันธ์กับความตั้งใจใช้บริการธนาคารทางโทรศัพท์มือถือของผู้บริโภคในจังหวัดกาญจนบุรี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.01 2) การรับรู้ความเสี่ยงมีความสัมพันธ์กับความตั้งใจใช้บริการธนาคารทางโทรศัพท์มือถือของผู้บริโภคในจังหวัดกาญจนบุรี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 3) การรับรู้ถึงประโยชน์มีความสัมพันธ์กับความตั้งใจใช้บริการธนาคารทางโทรศัพท์มือถือของผู้บริโภคในจังหวัดกาญจนบุรี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.01 และ 4) การเปิดรับข่าวสาร การรับรู้ความเสี่ยง และการรับรู้ถึงประโยชน์มีผลต่อความตั้งใจใช้บริการธนาคารทางโทรศัพท์มือถือของผู้บริโภคในจังหวัดกาญจนบุรี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.01สามารถพยากรณ์ความตั้งใจใช้บริการธนาคารทางโทรศัพท์มือถือของผู้บริโภคในจังหวัดกาญจนบุรีได้ร้อยละ 44.3ธนาคารผู้ให้บริการควรใช้สื่อบุคคล เช่น พนักงานเป็นสื่อในการให้ความข้อมูลที่ข่าวสารเกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัยและระบบการควบคุมการใช้งาน รวมประโยชน์ของบริการธนาคารทางโทรศัพท์มือถือแก่ผู้บริโภค

References

ขวัญชนก เชื้อปุย. (2557). การส่งเสริมการตลาดและการรับรู้ถึงประโยชน์ที่มีผลต่อพฤติกรรมความตั้งใจใช้บริการธนาคารทางโทรศัพท์มือถือ. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

ชัยวัช โซวเจริญสุข. (2559). โอกาส แนวโน้ม และการปรับตัวของธนาคารพาณิชย์ไทยในการเข้าสู่ยุค Digital Banking.กรุงเทพฯ: สำนักวิจัยธุรกิจ สายงานบริหารความเสี่ยง ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำกัด (มหาชน).

ชูศรี วงศ์รัตนะ. (2552). การใช้สถิติเพื่อการวิจัย.(พิมพ์ครั้งที่ 11). นนทบุรี : สำนักพิมพ์บริษัท ไทเนรมิตกิจ อินเตอร์ โปรเกราซิฟ จำกัด.

นราทิพย์ ณ ระนอง. (2557). การเปิดรับข่าวสาร การรับรู้ความเสี่ยง และความตั้งใจใช้บริการธนาคารผ่านแอพพลิเคชั่นบนโทรศัพท์มือถือของผู้บริโภค. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

บุญชม ศรีสะอาด. (2554). การวิจัยเบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร : สุวีริยาสาร์น.

ปวีณา คำพุกกะ. (2556). วิจัยธุรกิจ. อุบลราชธานี : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.

ปัญญา สุนทรปิยะพันธ์. (2552). พฤติกรรมการใช้งานอินเทอร์เน็ตแบงกิ้งของกลุ่มนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ.

ปิยะพงษ์ ตั้งจินตนาการ. (2559). สถาบันการเงินในยุคดิจิตอล. กรุงเทพมหานคร: หน่วยวิเคราะห์เศรษฐกิจภาคการผลิต ส่วนเศรษฐกิจรายสาขา ฝ่ายวิจัยเศรษฐกิจ ธุรกิจ และเศรษฐกิจฐานราก ธนาคารออมสิน.

ปิยพงศ์ ตั้งจินตนาการ และ พิชญ์สินี โพธิจิตติ. (2560). Mobile Banking…การธนาคารในยุค Digital.กรุงเทพมหานคร. หน่วยวิเคราะห์เศรษฐกิจภาคการผลิต ส่วนเศรษฐกิจรายสาขา ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจ ธุรกิจ และเศรษฐกิจฐานราก ธนาคารออมสิน.

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร. (2558). โครงการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม(Digital Economy) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร.

สุดาดวง เรืองรุจิระ. (2541). หลักการตลาด. (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพมหานคร : ประกายพรึก.

สำนักงานจังหวัดกาญจนบุรี. (2561). แผนพัฒนาจังหวัดกาญจนบุรี 4 ปี พ.ศ. 2561 - พ.ศ. 2564.กาญจนบุรี:สำนักงานจังหวัดกาญจนบุรี.

สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2561). ระบบสถิติทางการทะเบียน จำนวนประชากรแยกรายอายุ จังหวัดกาญจนบุรี. สืบค้นจาก http://stat.dopa.go.th/stat/statnew/upstat_age_disp.php

Abdul Kabeer Kazi and Muhammad Adeel Mannan. (2013). Factors affecting adoption of mobile banking in Pakistan: Empirical Evidence. International Journal of Research in Business and Social Science. 2(3), 54-61.

Agarwal, R., & Prasad, J. (1999). Are differences germane to the acceptance of new information technologies?. Decision Sciences, 30(2), 361-391.

Arunagiri Shanmugam, Michael Thaz Savarimuthu and Teoh Chai Wen. (2014).Factors Affecting Malaysian Behavioral Intention to Use Mobile Banking With Mediating Effects of Attitude.Universiti Utara Malaysia. Academic Research International. 5(2), 236-253. Retrieved fromwww.journals.savap.org.pk.

Assael, H. (2004). Consumer behavior: A strategic approach. Boston: MA: Houghton.Bauer, R. A. (1960). Consumer behavior as risk taking. Paper presented at the Dynamic Marketing for a Changing World, Proceedings of the 43rd Conference of the American Marketing Association.

Bauer, R. A. (1960). Consumer behavior as risk taking. Paper presented at the Dynamic Marketing for a Changing World, Proceedings of the 43rd Conference of the American Marketing Association.

Darmesh Krishanan, Aye Aye Khin, Kevin Low Lock Teng and Karuthan Chinna. (2016). Consumers’ Perceived Interactivity and Intention to use Mobile Banking in Structural Equation Modeling.International Review of Management and Marketing. 6(4), 883-890. Retrieved fromwww.econjournals.com.

Hossein Rezaie Dolat Abadi, Bahram Ranjbarian and Faeze Kermani Zade. (2012). Investigate the Customers' Behavioral Intention to Use Mobile Banking Based on TPB, TAM and Perceived Risk (A Case Study in Meli Bank). University of Isfahan. International Journal of Academic Research in Business and Social Sciences. 2(10), 312-322.Retrieved fromwww.hrmars.com/journals.

John F. (2004). Strategic Management. New York: McGraw – Hill.

McCombs, M. E., & Becker, L. B. (1979). Using mass communication. New Jersey: Prince-Hall.

Merrill, J. C., & Lownestein, R. L. (1973). Media, messages, and men: New perspectives in communication. New York: David Mckay Company.

Panjaporn Chansaenroj and Rapeepat Techakittiroj. (2015).Factors Influencingthe Intention to Use Mobile Banking Services In Bangkok, Thailand. International Journal ofManagement and Applied Science.1(9), 166-169. Retrieved fromwww.worldresearchlibrary.org.

Rogers E. M (1995). Diffusion of Innovation. (4th ed.) New York: Free Press.

Solomon, M. R. (2013). Consumer behavior: Buying, having, and being (10th ed.). Boston: Pearson.

Yenhui Ouyang. (2012). A use intention survey of mobile banking with smart phones – an integrated study of security anxiety, internet trust and TAM. Innovative Marketing,8(1), 14-20.

Zhao, A. L., Hanmer‐Lloyd, S., & Philippa Ward, M. M. H. G. (2008). Perceived risk and Chinese consumers' internet banking services adoption. International Journal of Bank Marketing, 26(7), 505-525.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-06-15