บทบาทของพยาบาลในการดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะความดันโลหิตสูง

ผู้แต่ง

  • สมฤดี กีรตวนิชเสถียร คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี

คำสำคัญ:

สตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะความดันโลหิตสูง, บทบาทพยาบาล

บทคัดย่อ

          บทบาทพยาบาลในการดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะความดันโลหิตสูงที่สอดคล้องกับความก้าวหน้าตามแนวทางการรักษาของแพทย์เป็นสิ่งสำคัญ เพราะพยาบาลเป็นผู้ที่มีความใกล้ชิดในการดูแลสตรีตั้งครรภ์เพื่อลดอัตราการเสียชีวิต การบาดเจ็บของมารดาและทารก พยาบาลจึงต้องมีความรู้เกี่ยวกับสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะความดันโลหิตสูงอย่างครอบคลุม ทั้งความหมาย การจำแนกประเภท เกณฑ์ในการวินิจฉัย  ผลกระทบที่มีต่อมารดาและทารก รวมทั้งแนวทางการรักษาของแพทย์ที่พัฒนาอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้เพื่อให้พยาบาลสามารถให้การดูแลสตรีตั้งครรภ์ตามบทบาทของพยาบาลได้อย่างเหมาะสม สอดคล้องในทุกขั้นตอนของการรักษา ตั้งแต่ ระยะเริ่มต้นของการตั้งครรภ์ การฝากครรภ์ การคลอด จนถึงระยะหลังคลอด ความรู้ดังกล่าวครอบคลุมถึงการรวบรวมข้อมูล และการประเมินสภาพสตรีตั้งครรภ์ การส่งต่อเพื่อรับการรักษาที่เหมาะสม การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ รวมทั้งแนวทางการพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะความดันโลหิตสูงที่ระดับความรุนแรงเล็กน้อย จนถึงรุนแรงมาก

References

กองยุทธศาสตร์และแผนงาน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. (2560) สถิติสาธารณสุข พ.ศ.2559.กรุงเทพฯ: สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข.

คมสันต์ สุวรรณฤกษ์. (2554). ภาวะแทรกซ้อนทางสูติศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 2) กรุงเทพฯ: หมอชาวบ้าน.

คณะอนุกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ ราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย.(2558). แนวทางการปฏิบัติของราชวิทยาลัยเรื่องการดูแลภาวะครรภ์เป็นพิษ.ราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย. กรุงเทพฯ : พิมพลักษณ์

ถวัลย์วงศ์ รัตนศิริ. (2553). สูติศาสตร์ฉุกเฉิน. กรุงเทพฯ: ราชวิทยาลัยสูตินรีเวชแพทย์แห่งประเทศไทย.

นันทพร แสนศิริพันธ์. (2560). การพยาบาลผดุงครรภ์ :สตรีที่มีภาวะแทรกซ้อน. เชียงใหม่: โครงการตำราคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

มณีภรณ์ โสมานุสรณ์. (2556). การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์: ที่มีภาวะแทรกซ้อนจากการตั้งครรภ์. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

มาลีวัลย์ เลิศสาครศิริ. (2554). การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะแทรกซ้อน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์อัสสัมชัญ.

ศรีเกียรติ อนันต์สวัสดิ์. (2553). การพยาบาลสูติศาสตร์ เล่ม 3 (พิมพ์ครั้งที่ 10) นนทบุรี: ยุทธรินทร์การพิมพ์.

สมาคมความดันโลหิตสูงแห่งประเทศไทย. (2558). แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงในเวชปฏิบัติทั่วไป (ฉบับปรับปรุงพ.ศ. 2558).กรุงเทพฯ: ฮั่วน้ำปริ้นติ้ง.

American College of Obstetricians and Gynecologists. (2015). Emergency therapy for acuteonset, severe hypertension during pregnancy and the postpartum period. Committee Opinion No. 623. Obstet Gynecol ; 125:521-5.

American College of Obstetricians and Gynecologists. (2013). Task Force on hypertension in pregnancy executive summary. Obstet Gynecol ; 122: 1122.

Bayer. (2019). Aspirin: Comprehensive prescribing information. Silver Spring, MD: U.S. Food and Drug Administration. Retrieved from https://www.fda.gov/ohrms/dockets/ac/03/.

Cantwell, R., Clutton-Brock, T., Cooper, G., Dawson, A., Drife, J., Garrod , D., et al. (2011) Saving Mothers’ Lives: Reviewing Maternal Deaths to Make Motherhood Safer: 2006-2008. The Eighth Report of the Confidential Enquiries into Maternal Deaths in the United Kingdom. BJOG, 118, 1-203.

Cunningham FG, Leveno KJ, Bloom SL, Spong CY, Dashe JS,Hoffman BL, et al. (2018) Williams Obstetrics. 25th ed. New York: McGraw Hill.

Leeman, L., & Fontaine, P. (2008). Hypertensive disorders of pregnancy. American family physician, 78 (1) :93-100

Lowe SA, Bowyer L, Lust K, McMahon LP, Morton MR, North RA, Paech MJ. Said JM. (2014). Guideline for the Management of Hypertensive Disorders of Pregnancy. Society of obstetric medicine of Australia and New Zealand.

Tessa E. R. Gillon, Pels A., Dadelszen V. P., MacDonell K., Magee LA. (2014). Hypertensive Disorders of Pregnancy: A Systematic Review of International Clinical Practice Guidelines. Retrieved 30 September 2019 from https://doi.org/10.1371/journal. pone.0113715

Sivakumar, S., et al. (2007). Effect of Pregnancy Induced Hypertension on Mothers and their Babies. The Indian Journal of Pediatrics. 74(7), 623–625.

Walfisch, A, Hallak, M, James, D, Stear, P, Weiner, C and Gonik B. (2006). High risk pregnancy: management options. Saunders Elsevier, Philadelphia.

World Health Organization. (2011) WHO recommendations for prevention and treatment of pre-eclampsia and eclampsia.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-01-16