บทบาทพยาบาลกับการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุด้วยการออกกำลังกาย

ผู้แต่ง

  • ชัชวาล วงค์สารี อาจารย์กลุ่มวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ วิทยาลัยพยาบาลและสุขภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

คำสำคัญ:

การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ, การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ, การพยาบาลผู้สูงอายุ

บทคัดย่อ

        บทความนี้มุ่งเน้นบทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุให้มีสุขภาวะด้วยการออกกำลังกาย โดยการออกกำลังกายที่มีประสิทธิภาพนั้นต้องเพิ่มความแข็งแรงของหัวใจ ระบบหายใจและการออกกำลังกายในผู้สูงอายุต้องมีความปลอดภัยด้วย พยาบาลสามารถแสดงบทบาททางวิชาชีพด้านการออกกำลังกายได้ 5 บทบาท ดังนี้ 1) การสร้างแรงจูงใจและสนับสนุนให้ผู้สูงอายุเริ่มออกกำลังกาย 2) การประเมินความพร้อมของร่างกายก่อนออกกำลังกาย ในผู้สูงอายุ 3) การให้ความรู้และการให้คำปรึกษาการออกกำลังกายที่เหมาะสมในผู้สูงอายุ 4) การจัดโปรแกรมการออกกำลังกาย เพื่อเพิ่มความแข็งแรงต่อระบบหัวใจและระบบหายใจในผู้สูงอายุ และ 5) การติดตามและแก้ไขภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นขณะผู้สูงอายุออกกำลังกาย

References

กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. (2558). การสำรวจกิจกรรมทางกายของประชากร พ.ศ. 2558.กรุงเทพฯ. สำนักงานสถิติแห่งชาติ.

คณะอนุกรรมาธิการส่งเสริมนวัตกรรมการแพทย์และสาธารณสุขในคณะกรรมาธิการสาธารณสุข. (2558).รายงานผลการศึกษาภาคที่ 1 เรื่อง แนวทางการส่งเสริมนวัตกรรมการออกกำลังกายและการสร้างเสริมสมรรถภาพผู้สูงอายุ. (อัดสำเนา).

ชัชวาล วงค์สารี. (2559). การพยาบาลอายุรศาสตร์-ศัลยศาสตร์โรคไตและระบบทางเดินปัสสาวะ. กรุงเทพฯ :ห้างหุ้นส่วนจำกัด เอ็น พี เพรส.

ชัชวาล วงค์สารี, และอุทัยวรรณ พงษ์บริบูรณ์. (2557). กฎหมายและจรรยาบรรณวิชาชีพการพยาบาลและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง. กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกัด เอ็น พี เพรส.

ทีปภา แจ่มกระจ่าง และพัสมณฑ์ คุ่มทวีพร. (2558). การพยาบาลผู้สูงอายุ 1. คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล: ทีเอสบี โปรดักส์.

บรรลุ ศิริพานิช. (2559). สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2558. กรุงเทพฯ : มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย.

ประเสริฐ อัสสันตชัย. (2558). ปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยในผู้สูงอายุและการป้องกัน. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ:บริษัทยูเนี่ยนครีเอชั่น.

วันชัย เดชสมฤทธิ์ฤทัย, รณิษฐา รัตนะรัต, ปวีณา เชี่ยวชาญวิศวกิจ. (2559). ตำราอายุรศาสตร์ อาการวิทยา.พิมพ์ครั้งที่ 3. ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทย์ศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล : พริ้นเอเบิ้ล จำกัด.

วิไลวรรณ ทองเจริญ. (2558). ศาสตร์และศิลป์การพยาบาลผู้สูงอายุ. พิมพ์ครั้งที่ 2. โครงการตำราคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล: ห้างหุ้นส่วนจำกัด เอ็น พี เพรส.

วีระศักดิ์ เมืองไพศาล. (2559). การป้องกัน การประเมินและการดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อม. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ.ห้างหุ้นส่วนจำกัด ภาพพิมพ์.

ศิริรัตน์ หิรัญรัตน์. (2546). การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ. นนทบุรี : กองออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข.

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล และสำนักงานสร้างเสริมสุขภาพ. (2555). การสำรวจสถานการณ์ การมีกิจกรรมทางกายของประเทศไทย พ.ศ. 2555. (อัดสำเนา).

สมชาย ลี่ทองอิน. (ม.ป.พ.). การออกกำลังกายสำหรับผู้สูงอายุ. นนทบุรี: กองสนับสนุนวิชาการและกองการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข.

Akira H, Naohisa M, Yoichi S, and Hiroyuki K. (2013). FRAX and Exercise: Should Exercise Be Categorized as a Risk Factor in Osteoporotic Patients. Open Journal of Orthopedics,3(2), 133-136.

Alison L.F, Debra L.W, Wayen A.H, and Justin W.K. (2016). Perceptions towards aqua-based exercise among older adults with osteoarthritis who have discontinued participation in his exercise mode. Australasian Journal on Ageing , (1),12-17.

Carlos S.P, Bernardo M.R, Jani C.P. ( 2012). Quality of life, older person and physical activity.Journal of Health, 4(2), 88-93.

Cunningham, D. A., Rechnitzer, P. A., Howard, J. H., & Donner, A. (1985). Exercise Training And The Cardiovascular Fitness Of Men At Retirement. Medicine & Science in Sports & Exercise, 17(2), 270.

Denise C.R. (2012). Barriers to Physical Activity in Older adult with Implication for Practice .Thesis Master of Nursing. Washington: Washington University.

Harlow E.N., Lyons W.L. (2014). Assessment. In: Ham RJ, Sloane PD, Warshaw GA, Potter JF, Flaherty E. eds. Ham's Primary Care Geriatrics. 6th ed. Philadelphia, PA: Elsevier Saunders.

Helmes E, Brown J. (2016). Does Exercise in Older Adults Predict Problem Solving? The Role of Personality. Advances in Aging Research, (5), 41-48. DOI: 10.4236/aar.2016.52004.

Jackie B, Richard CF, Rose N, Kathryn M, Tonya G,and Barbra K. (2013). Review Article : Barriers and motivators to exercise for older adults: A focus on those living in rural and remote areas of Australia. Aust. J. Rural Health, 21(3), 141-149.

Lawla L.F., Fiona B, Matthew K, Yau1, and Marion A.G. (2013). evelopment and Initial Testing of Functional Task Exercise on Older Adults with Cognitive Impairment at Risk of Alzheimer's Disease - FcTSim Programme - A Feasibility Study. Occup. Ther. Int, 20(4), 185-197.

Laura J.G., and Denise MC. (2013). Any Movement at All Is Exercise: A Focused Ethnography of Rural Community-Dwelling Older Adults' Perceptions and Experiences of Exercise as Self-Care. Physiotherapy Canada, 65(4), 333-341.

Seyedian, M., Ahmadi, F., Lalvand, A., & Nourizadeh, M. (2012). Study the effect of exercise on systolic pulmonary artery pressure in healthy subjects. Health, 4(04), 233.

Nomura, T., Akezaki, Y., Mori, K., Nakamata, E., Asada, F., Mori, Y., et al. (2013). Investigating the circulatory-respiratory response of elderly people during Tai Chi Yuttari-exercise. Health, 5(12), 58.

Perez C.M., and Terzic.(2012). Exercise in cardiovascular diseases. Physical Medicine and Rehabilitation, 11(4), 867-873.

Rebecca A.S., Jacqueline N.E., David B., Rina B.,and Miriam E.N. (2002). Growing Strength Training for Older adult Strong. [Online]. Retrieved June 28,2018. from http:// www.nutrition.tufts.edu /growing stronger.

Robert S, and Ross A. (2008). The Effects of Resistance Training and Walking on Functional Fitness in Advanced Old Age. J Aging Health, 18(2), 90-105.

Schwartz J.B., Zipe D.P. (2015). Cardiovascular disease in the older person. In: Mann DL, Zipes DP, Libby P, Bonow RO, Braunwald E, eds. Braunwald's Heart Disease: A Textbook of Cardiovascular Medicine. 10 ed. Philadelphia, PA: Elsevier Saunders.

Studenski S, Van S, and Falls J. (2017). In: Fillit HM, Rockword K, Young J.Brocklehurst's Textbook of Geriatric Medicine and Gerontology. 8 ed. Philadelphia, PA: Elsevier.

Takuo N, Yoshiteru A, Kohei M, Emi N, Fuminari A , Yoshiaki M , Satoru K, and Masahito W. (2013). Investigating the circulatory-respiratory response of older person people during Tai Chi Yuttari-exercise. Journal of Health science, 15(2), 71-80.

Teet S., and Priit K.(2015). Age-Associated Changes in Skeletal Muscle Regeneration: Effect of Exercise. dances in Aging Research, 4(6), 230-241.

Toshiaki N, Tomohiro Y, Yoshiaki S, Toshihiro M, and Tatsuya Y.( 2011). Review Article: Effects of Exercise and Anti-Aging. Anti-Aging Medicine, 8(7) , 92-102.

World Health Organization. (2002). Report: Reducing Risks, Promoting Healthy Life. Geneva Switzerland. [Online]. Retrieved March 28, 2018, from www.who.int/whr/2002/en/whr02_en.pdf.

World Health Organization. (2010). Global recommendations on physical activity for health.Geneva 27, Switzerland.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2018-12-31