เป้าหมายและความท้าทายของระบบดูแลสุขภาพในยุคประเทศไทย 4.0

ผู้แต่ง

  • นวปฎล กิตติอมรกุล คณะวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยคริสเตียน

คำสำคัญ:

ดูแลสุขภาพ, การแพทย์, ดิจิทัลเทคโนโลยี

บทคัดย่อ

         ปัจจุบันประเทศไทยกำลังเข้าสู่ยุด 4.0 ซึ่งเป็นยุคของนวัตกรรมและเทคโนโลยี มีเทคโนโลยีดิจิทัลมากมายที่ทำให้การดำรงชีวิตของประชาชนสะดวกสบายมากขึ้น ซึ่งรวมไปถึงระบบดูแลสุขภาพด้วย โดยเทคโนโลยีดิจิทัล เช่น สื่อสังคมออนไลน์ (social medias ) อินเตอร์เน็ต (internet) โปรแกรมประยุกต์สำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ (mobile applications) บริการประมวลผลข้อมูลออนไลน์ (cloud computing) ข้อมูลขนาดใหญ่ (big data) หุ่นยนต์ (robotics) และ ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligences, AI) ซึ่งสามารถนำมาประยุกต์ใช้ด้านการให้บริการสุขภาพ โรงพยาบาลสามารถนำเทคโนโลยีเหล่านี้มาใช้ในการพัฒนาการบริการ แพทย์และบุคลากรทางการแพทย์จำเป็นต้องศึกษาเทคโนโลยีใหม่ และนำมาประยุกต์ใช้ในองค์กร สุดท้ายนี้ประชาชนควรศึกษาเทคโนโลยีใหม่ด้วย เพื่อรับบริการด้านการแพทย์ได้อย่างทั่วถึง

References

Barlow, M. (2017). Data-Driven Strategies for Improving Healthcare and Saving Lives. AI and Medicine. Sebastopol: O’Reilly Media Inc.

Burke, J. (2013). Health analytics gaining the insights to transform health care. Hoboken, NJ: Wiley.

Pranav, R., Jeremy, I., Kaylie, Z., Brandon, Y., Hershel, M., Tony, D., … Andrew, Y. (2017). CheXNet: Radiologist-Level Pneumonia Detection on Chest X-Rays with Deep Learning. Computer Vision and Pattern Recognition, Revised December 25, 2017, from Stanford Machine Learning Group.

WHO. (2012). National eHealth Strategy Toolkit. Retrieved November 12, 2017, from http://www.who.int/ehealth/publications/overview.pdf

WHO. (2017). Web ecosystem. Retrieved from November 12, 2017, from http://www.who.int/ehealth/en

Zhao, Y., Liu, Y., Wu, X., Harding, S. P., & Zheng, Y. (2015). Correction: Retinal Vessel Segmentation: An Efficient Graph Cut Approach with Retinex and Local Phase. Plos One, 10(4). doi:10.1371/journal.pone.0127486.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-05-29