ผลของโปรแกรมการจัดการเสียงโดยพยาบาลต่อระดับเสียงในหอผู้ป่วยหนักทารกแรกเกิด

ผู้แต่ง

  • ทิพย์วัลย์ วงค์คำปัน คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • จุฑามาศ โชติบาง คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • พิมพาภรณ์ กลั่นกลิ่น คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

คำสำคัญ:

เสียงรบกวน, หอผู้ป่วยหนักทารกแรกเกิด, โปรแกรมการจัดการเสียง

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการจัดการเสียงโดยพยาบาลต่อระดับเสียงในหอผู้ป่วยหนักทารกแรกเกิด กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติกิจกรรมประจำวันในหอผู้ป่วยหนักทารกแรกเกิด โรงพยาบาลสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ จำนวน 14 คน เครื่องมือการวิจัยประกอบด้วย โปรแกรมการจัดการเสียงโดยพยาบาล แบบบันทึกข้อมูลทั่วไปของพยาบาล แบบสังเกตการปฏิบัติการจัดการเสียงโดยพยาบาล มีค่าความเชื่อมั่น 1 และแบบบันทึกระดับเสียง ดำเนินการทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูลในช่วงเดือนมกราคมถึงเดือนมีนาคม 2563 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ paired t-test

ผลการวิจัยพบว่า 1) หลังการใช้โปรแกรมการจัดการเสียงโดยพยาบาล ระดับเสียงเฉลี่ยในการปฏิบัติกิจกรรมประจำวันโดยรวมต่ำกว่าก่อนการใช้โปรแกรมฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t = 9.263, p < .001) และ 2) หลังการใช้โปรแกรมการจัดการเสียงโดยพยาบาล ระดับเสียงเฉลี่ยในการเช็ดตัว การวัดสัญญาณชีพ การดูดเสมหะ และการส่งเวร ต่ำกว่าก่อนการใช้โปรแกรมฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t = 7.385, p < .001; t = 3.873, p < .01; t = 3.884, p < .01 และ t = 2.320, p < .05 ตามลำดับ)

จากการวิจัยครั้งนี้มีข้อเสนอแนะว่า พยาบาลที่ปฏิบัติกิจกรรมประจำวันในหอผู้ป่วยหนักทารกแรกเกิด ควรนำโปรแกรมการจัดการเสียงโดยพยาบาลไปใช้ในการดูแลทารกเกิดก่อนกำหนด เพื่อป้องกันผลเสียที่อาจเกิดขึ้นกับทารกเกิดก่อนกำหนด

References

กองยุทธศาสตร์และแผนงาน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. (2560). สถิติสาธารณสุข พ.ศ. 2560. สืบค้นจาก http://bps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/stratistics60.pdf

ดลก์พร มาตยาบุญ, พิมพาภรณ์ กลั่นกลิ่น, และมาลี เอื้ออำนวย. (2559). การปฏิบัติของพยาบาลและปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการดูแลเพื่อส่งเสริมพัฒนาการทารกเกิดก่อนกำหนด. พยาบาลสาร, 43(4), 1–11.

นงค์คราญ วิเศษกุล. (2562). การพัฒนาสื่อการเรียนการสอนทางการพยาบาล: แนวคิดและการประยุกต์ใช้. คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

รุ่งทิพย์ คงแดง. (2550). ผลของโปรแกรมการส่งเสริมการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ต่อความรู้และการปฏิบัติของพยาบาลในการจัดการความปวดเฉียบพลันในทารกแรกเกิด (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

สุคนธา วัฒนพงษ์, จิตตาภรณ์ จิตรีเชื้อ, และนงเยาว์ เกษตร์ภิบาล. (2559). ผลของหลายกลยุทธ์ต่อการปฏิบัติการป้องกันและอุบัติการณ์การสัมผัสเลือดและสารคัดหลั่งของพยาบาลห้องคลอด. พยาบาลสาร, 43(2), 57–67.

Aita, M., & Goulet, C. (2003). Assessment of neonatal nurses’ behaviors that prevent overstimulation in preterm infants. Intensive & Critical Care Nursing, 19(2), 109–118. doi:10.1016/s0964-3397 (03)00023-5

American Academy of Pediatrics. (1997). Noise: A hazard for the fetus and newborn. Retrieved from http://www.aap.org

Blackburn, S. (1998). Environmental impact of the NICU on developmental outcomes. Journal of Pediatric Nursing, 13(5), 279–289. doi:10.1016/S0882-5963(98)80013-4

Burns, N., & Grove, S. K. (2009). The practice of nursing research: Appraisal, synthesis, and generation of evidence (6th ed.). St. Louis, MO: Saunders Elsevier.

Carvalhais, C., Santos, J., da Silva, M. V., & Xavier, A. (2015). Is there sufficient training of health care staff on noise reduction in neonatal intensive care units? a pilot study from neonoise project. Journal of Toxicology and Environmental Health, Part A, 78(13–14), 897–903. doi:10.1080/15287394.2015.1051204

Chang, Y. J., Pan, Y. J., Lin, Y. J., Chang, Y. Z., & Lin, C. H. (2006). A noise-sensor light alarm reduces noise in the newborn intensive care unit. American Journal of Perinatology, 23(5), 265–271. doi:10.1055/s-2006-941455

Laudert, S., Liu, W. F., Blackington, S., Perkins, B., Martin, S., Macmillan-York, E., … Handyside, J. (2007). Implementing potentially better practices to support the neurodevelopment of infants in the NICU. Journal of Perinatology, 27(Suppl. 2), 75–93. doi:10.1038/sj.jp.7211843

Lubbe, W., Van der Walt, C., & Klopper, H. (2012). NICU environment–what should it be like?. Journal of Neonatal Nursing, 18(3), 90–93. doi:10.1016/j.jnn.2012.03.006

McMahon, E., Wintermark, P., & Lahav, A. (2012). Auditory brain development in premature infants: The importance of early experience. Annals of the New York Academy of Sciences, 1252(1), 17–24. doi:10.1111/j.1749-6632.2012.06445.x

Milette, I. (2010). Decreasing noise level in our NICU: The impact of a noise awareness educational program. Advances in Neonatal Care, 10(6), 343–351. doi:10.1097/ANC.0b013e318fc8108

Nogueira, M. de F. H., Di Piero, K. C., Ramos, E. G., de Souza, M. N., & Dutra, M. V. P. (2011). Noise measurement in NICUs and incubators with newborns: A systematic literature review. Revista Latino-Americana de Enfermagem, 19(1), 212–221. doi:10.1590/s0104-11692011000100028

Philbin, M. K. (2000). The influence of auditory experience on the behavior of preterm newborns. Journal of Perinatology, 20(8 Pt 2), 77–87. doi:10.1038/sj.jp.7200453

Santos, J., Carvalhais, C., Xavier, A., & Silva, M. V. (2018). Assessment and characterization of sound pressure levels in Portuguese neonatal intensive care units. Archives of Environmental & Occupational Health, 73(2), 121–127. doi:10.1080/19338244.2017.1304883

Swansburg, R. C. (2002). Communication. In R. C. Swansburg & R. J. Swansburg (Eds.), Introduction to management and leadership for nurse managers (pp. 502–514). Boston: Jones and Bartlett Publishers.

Tappen, R. M. (Ed.). (2001). Nursing leadership and management: Concepts and practice. Philadelphia: F. A. Davis.

Wachman, E. M., & Lahav, A. (2011). The effects of noise on preterm infants in the NICU. Archives of Disease in Childhood – Fetal and Neonatal Edition, 96(4), 305–309. doi:10.1136/adc.2009.182014

World Health Organization. (2009). Engineering noise control. Retrieved from http://www.who.int/occupational_health/publications/noise10.pdf

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-06-15

How to Cite

วงค์คำปัน ท., โชติบาง จ., & กลั่นกลิ่น พ. (2022). ผลของโปรแกรมการจัดการเสียงโดยพยาบาลต่อระดับเสียงในหอผู้ป่วยหนักทารกแรกเกิด. วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี, 33(1), 38–50. สืบค้น จาก https://he01.tci-thaijo.org/index.php/pnc/article/view/255159

ฉบับ

บท

รายงานการวิจัย (Research Report)