ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการดูแลในผู้ดูแลเด็กโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดหลังผ่าตัดหัวใจ

ผู้แต่ง

  • วรรณ์วิการ์ ใจกล้า คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • อุษณีย์ จินตะเวช คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • ศรีมนา นิยมค้า คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

คำสำคัญ:

ผู้ดูแล, โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด, การผ่าตัดหัวใจ

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาแบบหาความสัมพันธ์ เพื่อศึกษาการดูแล และความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มแข็งของครอบครัว และการสนับสนุนทางสังคม กับการดูแลในผู้ดูแลเด็กโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดหลังผ่าตัดหัวใจ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ดูแลเด็กโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดหลังผ่าตัดหัวใจขณะพักฟื้นที่หอผู้ป่วยสามัญกุมารเวชกรรม โรงพยาบาลระดับตติยภูมิในภาคเหนือ 3 แห่ง และศูนย์หัวใจในภาคตะวัน ออกเฉียงเหนือ 1 แห่ง รวมจำนวน 85 คน เครื่องมือการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบสอบถามความเข้มแข็งของครอบครัว มีค่าความเชื่อมั่น .80 แบบสอบถามการสนับสนุนทางสังคม มีค่าความเชื่อมั่น .89 และแบบสอบถามการดูแลในผู้ดูแลเด็กโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดหลังผ่าตัดหัวใจ มีค่าความเชื่อมั่น .89 เก็บรวบรวมข้อมูลในช่วงเดือนกันยายน 2562 ถึงเดือนสิงหาคม 2563 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมน และสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน

ผลการวิจัยพบว่า ผู้ดูแลเด็กโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดหลังผ่าตัดหัวใจมีคะแนนเฉลี่ยการดูแลโดยรวมในระดับสูง (M = 108.35, SD = 22.66) ความเข้มแข็งของครอบครัว และการสนับสนุนทางสังคม มีความ สัมพันธ์ทางบวกกับการดูแลในผู้ดูแลเด็กโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดหลังผ่าตัดหัวใจอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (rs = .230, p < .05 และ r = .340, p < .01 ตามลำดับ)

จากการวิจัยครั้งนี้มีข้อเสนอแนะว่า พยาบาลควรสนับสนุนการดูแลเด็กหลังผ่าตัดหัวใจในผู้ดูแล อีกทั้งควรส่งเสริมความเข้มแข็งของครอบครัวและการสนับสนุนทางสังคมในผู้ดูแลให้มากขึ้น ซึ่งจะช่วยให้ผู้ดูแลมีการดูแลเด็กหลังผ่าตัดหัวใจได้อย่างมีประสิทธิภาพ

References

กรกนก สุขพันธ์. (2556). โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด. ใน สุรีย์ เลขวรรณวิจิตร (บ.ก.), พยาธิวิทยาของโรคหัวใจ (น. 33–81). โรงพิมพ์คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

เกษร เกษมสุข, และอุษณีย์ บุญบรรจบ. (2561). การส่งเสริมพัฒนาการวัยผู้ใหญ่ตอนต้น: บทบาทของพยาบาล. วารสารแพทยสารทหารอากาศ, 64(3), 101–107.

จุฑามาศ พายจะโปะ, ชื่นฤดี คงศักดิ์ตระกูล, และศักดา อาจองค์ วัลลิภากร. (2560). ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการดูแลของผู้ดูแลเด็กวัยแรกเกิด–5 ปี หลังผ่าตัดหัวใจแบบเปิด. วารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพ, 40(4), 134–141.

ชญาภา วันทุม, และสุพรรณี สุ่มเล็ก. (2555). การเสริมสร้างสุขภาพเด็กโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดหลังการผ่าตัดของผู้ดูแล. วารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพ, 35(1), 1–9.

ธนะรัตน์ ลยางกูร, สมพัน กลั่นดีมา, และแพรวดาว พันธุรัตน์. (2559). โรคหัวใจพิการแต่กำเนิดที่รุนแรงในทารกแรกเกิด. วารสารกรมการแพทย์, 41(4), 16–21.

พรพิมล เพ็ชรบุรี, ชมชื่น สมประเสริฐ, และประนอม โอทกานนท์. (2560). ผลของโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมต่อภาวะสุขภาพจิตของผู้สูงอายุ. วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ, 35(2), 188–197.

พิมพาภรณ์ กลั่นกลิ่น. (2560). การพยาบาลเด็กเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ. เชียงใหม่: สมาร์ทโคตรติ้งแอนด์ เซอร์วิส.

มัสลิน จันทร์ผา, วนิดา เสนะสุทธิพันธุ์, และอรุณรัตน์ ศรีจันทรนิตย์. (2561). ความสัมพันธ์ระหว่างอายุผู้ป่วย การรับรู้ความรุนแรงของโรคของผู้ดูแล ความเครียด และการสนับสนุนทางสังคมกับคุณภาพชีวิตของผู้ดูแลเด็กโรคหัวใจพิการแต่กําาเนิด. วารสารพยาบาลศาสตร์, 36(1), 73–86.

ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย. (2561). เกณฑ์หลักสูตรการฝึกอบรมกุมารแพทย์โรคหัวใจ เพื่อประกาศนียบัตรในวิชาชีพเวชกรรมด้านหัตถการปฏิบัติรักษาโรคหัวใจและหลอดเลือด พ.ศ. 2561. สืบค้นจาก https://www.thaipediatrics.org/Media/media-20180807133907.pdf

ศุภมาส สร้อยเพ็ชร, อุษณีย์ จินตะเวช, และจุฑารัตน์ มีสุขโข. (2562). พฤติกรรมการดูแลของบิดามารดาและปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการป้องกันการติดเชื้อทางเดินหายใจในเด็กโรคหัวใจพิการแต่กำเนิด. พยาบาลสาร, 46(1), 102–113.

สมาคมศัลยแพทย์ทรวงอกแห่งประเทศไทย. (2562). สถิติผ่าตัดหัวใจในประเทศไทยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544–ปัจจุบัน. สืบค้นจาก http://thaists.org/news_detail.php?news_id=212

สุกัญญา สอนสี, ยุนี พงศ์จตุรวิทย์, และนุจรี ไชยมงคล. (2560). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมของมารดาในการส่งเสริมการเล่นแก่บุตรวัยก่อนเรียน. วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี, 28(1), 90–99.

สุภาพร วัฒนา. (2561). ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการครอบครัวในครอบครัวที่มีบุตรโรคหัวใจพิการแต่กำเนิด (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

Abdelkader, R., Arabiat, D. H., Holmes, S. L., & Hamdan-Mansour, A. (2016). Socio-demographic correlates of parents’ participation in care of a hospitalized child: A perspective from a developing country. Journal of Child Health Care, 20(3), 374–383. doi:10.1177/1367493515598650

Agarwal, H. S., Wolfram, K. B., Saville, B. R., Donahue, B. S., & Bichell, D. P. (2014). Postoperative complications and association with outcomes in pediatric cardiac surgery. The Journal of Thoracic and Cardiovascular Surgery, 148(2), 609–616. doi:10.1016/j.jtcvs.2013. 10.031

Bastani, F., Abadi, T. A., & Haghani, H. (2015). Effect of family-centered care on improving parental satisfaction and reducing readmission among premature infants: A randomized controlled trial. Journal of Clinical and Diagnostic Research, 9(1), SC04–SC08. doi:10.7860/JCDR/2015/10356.5444

Calkoen, E. E., Hazekamp, M. G., Blom, N. A., Elders, B. B. L. J., Gittenberger-de Groot, A. C., Haak, M. C., … Jongbloed, M. R. M. (2016). Atrioventricular septal defect: From embryonic development to long-term follow-up. International Journal of Cardiology, 202, 784–795. doi:10.1016/j.ijcard.2015.09.081

Chaisom, P., Yenbut, J., Chontawan, R., Soivong, P., & Patumanond, J. (2010). Predicting factors of dependent care behaviors among mothers of toddlers with congenital heart disease. Chiang Mai University Journal of Natural Sciences, 9(2), 193–200.

Diniz, E., Santos, L. S., & Koller, S. H. (2017). Social support as moderator of knowledge about infant development in adolescent mothers. Paideia (Ribeirao Preto), 28(68), 281–289. doi:10.1590/1982-43272768201705

Elshazali, O. H., Shazali, H. O. H. E., Yousif, E. M. A., & Osman, H. E. S. (2018). Parent’s knowledge about diagnosis and management of their children with congenital heart diseases in Khartoum, Sudan. Journal of Pediatrics & Neonatal Care, 8(6), 262–266. doi:10.15406/ jpnc.2018.08.00353

Gaies, M., Pasquali, S. K., Donohue, J. E., Dimick, J. B., Limbach, S., Burnham, N., … Mascio, C. E. (2016). Seminal postoperative complications and mode of death after pediatric cardiac surgical procedures. The Annals of Thoracic Surgery, 102(2), 628–635. doi:10.1016/j.athoracsur.2016.02.043

Gazit, A. Z., Huddleston, C. B., Checchia, D. A., Fehr, J., & Pezzella, A. T. (2010). Care of the pediatric cardiac surgery patient--part 1. Current Problem Surgery, 47(3), 185–250. doi:10.1067/j.cpsurg.2009.11.006

He, H. G., Polkki, T., Pietila, A. M., & Vehvilainen-Julkunen, K. (2006). Chinese parent’s use of nonpharmacological methods in children’s postoperative pain relief. Scandinavian Journal of Caring Sciences, 20(1), 2–9. doi:10.1111/j.1471-6712.2006.00373.x

Hoffman, J. I. (2013). The global burden of congenital heart disease. Cardiovascular Journal of Africa, 24(4), 141–145. doi:10.5830/CVJA-2013-028

House, J. S. (1981). Work stress and social support. Reading, MA: Addison-Wesley.

Ikiz, F. E., & Cakar, F. S. (2010). Perceived social support and self-esteem in adolescence. Procedia Social and Behavioral Sciences, 5, 2338–2342. doi:10.1016/j.sbspro.2010.07.460

Lam, L. W., Chang, A. M., & Morrissey, J. (2006). Parents’ experiences of participation in the care of hospitalized children: A qualitative study. International Journal of Nursing Studies, 43(5), 535–545. doi:10.1016/j.ijnurstu.2005.07.009

McCubbin, H. I., McCubbin, M. A., & Thompson, A. I. (1987). Family assessment: Resiliency, coping and adaptation: Inventories for research and practice. Madison, WI: University of Wisconsin Publishers.

Polit, D. F. (2010). Statistics and data analysis for nursing research (2nd ed.). New Jersey: Pearson.

Sakornpant, P., & Kojaranjit, V. (2014). First national congenital cardiac surgical database report: Demonstrating “Practice of congenital cardiac surgery in Thailand: Analysis of performance and outcome”. Bangkok Medical Publisher.

Santati, S. (2006). Asthma management abilities causal model: An empirical test among parent caregivers of the pre-school asthmatic children. Thai Journal of Nursing Research, 10, 98–112.

van der Linde, D., Konings, E. E., Slager, M. A., Witsenburg, M., Helbing, W. A., Takkenberg, J. M., & Roos-Hesselink, J. W. (2011). Birth prevalence of congenital heart disease worldwide: A systematic review and meta-analysis. Journal of the American College of Cardiology, 58(21), 2241–2247. doi:10.1016/j.jacc.2011.08.025

Welch, C. D., Check, J., & O’Shea, T. M. (2017). Improving care collaboration for NICU patients to decrease length of stay and readmission rate. BMJ Open Quality, 6(2), 1–6. doi:10.1136/bmjoq-2017-000130

Woodson, K. D., Thakkar, S., Burbage, M., Kichler, J., & Nabors, L. (2015). Children with chronic illnesses: Factors influencing family hardiness. Issues in Comprehensive Pediatric Nursing, 38(1), 57–69. doi:10.3109/01460862.2014.988896

Wray, J., & Maynard, L. (2006). The needs of families of children with heart disease. Journal of Developmental & Behavioral Pediatrics, 27(1), 11–17. doi:10.1097/00004703-200602000-00002

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-12-22

How to Cite

ใจกล้า ว., จินตะเวช อ., & นิยมค้า ศ. (2021). ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการดูแลในผู้ดูแลเด็กโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดหลังผ่าตัดหัวใจ. วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี, 32(2), 22–36. สืบค้น จาก https://he01.tci-thaijo.org/index.php/pnc/article/view/252002

ฉบับ

บท

รายงานการวิจัย (Research Report)