การสนับสนุนทางสังคมและภาวะซึมเศร้าหลังคลอดในมารดาผ่าตัดคลอด สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
คำสำคัญ:
การสนับสนุนทางสังคม, ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด, มารดาผ่าตัดคลอด, สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาแบบหาความสัมพันธ์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการสนับสนุนทางสังคมกับภาวะซึมเศร้าหลังคลอดในมารดาผ่าตัดคลอด กลุ่มตัวอย่างเป็นมารดาผ่าตัดคลอดที่มารับบริการตรวจหลังคลอดที่โรงพยาบาลแม่และเด็กแรกเกิด และโรงพยาบาลมโหสด แขวงนครหลวงเวียงจันทน์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว รวมจำนวน 85 คน เครื่องมือการวิจัยประกอบด้วย แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมินการสนับสนุนทางสังคม มีค่าความเชื่อมั่น .89 และแบบประเมินภาวะซึมเศร้าหลังคลอด มีค่าความเชื่อมั่น .82 เก็บรวบรวมข้อมูลในช่วงเดือนพฤษภาคมถึงเดือนกรกฎาคม 2563 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมน
ผลการวิจัยพบว่า มารดาผ่าตัดคลอดมีคะแนนเฉลี่ยการได้รับการสนับสนุนทางสังคมโดยรวมในระดับมาก (M = 4.62, SD = .10) มีภาวะซึมเศร้าหลังคลอด คิดเป็นร้อยละ 10.60 และการสนับสนุนทางสังคมมีความสัมพันธ์ทางลบกับภาวะซึมเศร้าหลังคลอดในมารดาผ่าตัดคลอดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (rs = -.316, p < .01)
จากการวิจัยครั้งนี้มีข้อเสนอแนะว่า พยาบาลควรนำผลการวิจัยไปเป็นข้อมูลในการวางแผนการพยาบาลโดยเน้นการส่งเสริมการสนับสนุนทางสังคม เพื่อช่วยลดภาวะซึมเศร้าหลังคลอดในมารดาผ่าตัดคลอด
References
กุสุมล แสนบุญมา, วรรณี เดียวอิศเรศ, และอุษา เชื้อหอม. (2562). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะซึมเศร้าหลังคลอดในมารดาที่ผ่าตัดคลอดแบบฉุกเฉิน. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 27(3), 23–31.
คชารัตน์ ปรีชล. (2559). ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด: การป้องกันและการดูแล. วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย, 9(2), 24–35.
นภัสนันท์ สุขเกษม, รัชนี เรืองพรวิสุทธิ์, พรรณพิไล ศรีอาภรณ์, วีรพันธ์ ศิริฤทธิ์, และพรรณา วัชรประภาพงศ์. (2559). ปัจจัยทำนายภาวะซึมเศร้าหลังคลอด. วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ, 34(1), 47–55.
นลินี สิทธิบุญมา. (2558). ความเครียด การสนับสนุนทางสังคม และภาวะซึมเศร้าหลังคลอดของมารดาครรภ์แรก (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
นลินี สิทธิบุญมา, กรรณิการ์ กันธะรักษา, และบังอร ศุภวิทิตพัฒนา. (2563). ความเครียด การสนับสนุนทางสังคมและภาวะซึมเศร้าหลังคลอดของผู้เป็นมารดาครรภ์แรก. พยาบาลสาร, 47(2), 169–179.
พรรณพิไล ศรีอาภรณ์, นุชนาต สุนทรลิ้มศิริ, กนกพร จันทราทิตย์, จิราวรรณ ดีเหลือ, จิราภรณ์ นันท์ชัย, และพฤกษลดา เขียวคำ. (2558). ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะซึมเศร้าหลังคลอดของมารดาและบิดาที่มีบุตรคนแรก. พยาบาลสาร, 42(3), 37–50.
Beck, A. T. (1963). Thinking and depression: I. Idiosyncratic content and cognitive distortions. Archives of General Psychiatry, 9(4), 324–333. doi:10.1001/archpsyc.1963.01720160014002
Beck, A. T. (1967). Depression: Clinical, experimental, and theoretical aspects. Philadelphia, PA: University of Pennsylvania Press.
Betrán, A. P., Ye, J., Moller, A. B., Zhang, J., Gülmezoglu, A. M., & Torloni, M. R. (2016). The increasing trend in caesarean section rates: Global, regional and national estimates: 1990–2014. PLoS One, 11(2), e0148343. doi:10.1371/journal.pone.0148343
Brummelte, S., & Galea, L. A. (2016). Postpartum depression: Etiology, treatment and consequences for maternal care. Hormones and Behavior, 77, 153–166. doi:10.1016/j.yhbeh.2015.08.008
Cox, J. L., Holden, J. M., & Sagovsky, R. (1987). Detection of postnatal depression: Development of the 10-item Edinburgh Postnatal Depression Scale. The British Journal of Psychiatry, 150(6), 782–786. doi:10.1192/bjp.150.6.782
Cunningham, F. G., Leveno, K. J., Bloom, S. L., Dashe, J. S., Hoffman, B. L., Casey, B. M., & Spong, C. Y. (2018). Williams obstetrics (25th ed.). New York: McGraw Hill.
Eckerdal, P., Georgakis, M. K., Kollia, N., Wikström, A. K., Högberg, U., & Skalkidou, A. (2018). Delineating the association between mode of delivery and postpartum depression symptoms: A longitudinal study. Acta Obstetricia et Gynecologica Scandinavica, 97(3), 301–311. doi:10.1111/aogs.13275
Feldman, R. S. (2010). Development across the life span (6th ed.). Lexington, MA: Pearson.
Grisbrook, M. A., Dewey, D., Cuthbert, C., McDonald, S., Ntanda, H., Giesbrecht, G. F., & Letourneau, N. (2022). Associations among caesarean section birth, post-traumatic stress, and postpartum depression symptoms. International Journal of Environmental Research and Public Health, 19(8), 4900. doi:10.3390/ijerph19084900
House, J. S. (1981). Work stress and social support. Reading, MA: Addison-Wesley.
Lin, R., Lu, Y., Luo, W., Zhang, B., Liu, Z., & Xu, Z. (2022). Risk factors for postpartum depression in women undergoing elective cesarean section: A prospective cohort study. Frontiers in Medicine, 9, 1001855. doi:10.3389/fmed.2022.1001855
Lowdermilk, D. L., Cashion, M. C., Perry, S. E., & Alden, K. R. (2015). Maternity & Women’s Health Care (11th ed.). St. Louis: Mosby.
Moameri, H., Ostadghaderi, M., Khatooni, E., & Doosti-Irani, A. (2019). Association of postpartum depression and cesarean section: A systematic review and meta-analysis. Clinical Epidemiology and Global Health, 7(3), 471–480. doi:10.1016/j.cegh.2019.02.009
Nurmaulid, Erfina, & Nur, I. M. (2020). Social support and incidence of depression among postpartum mother lived in the extended family as Indonesian culture. Enfermería Clínica, 30(Suppl. 2), 60–63. doi:10.1016/j.enfcli.2019.07.031
O’Hara, M. W., & McCabe, J. E. (2013). Postpartum depression: Current status and future directions. Annual Review of Clinical Psychology, 9, 379–407. doi:10.1146/annurev-clinpsy-050212-185612
Pitanupong, J., Liabsuetrakul, T., & Vittayanont, A. (2007). Validation of the Thai Edinburgh Postnatal Depression Scale for screening postpartum depression. Psychiatry Research, 149(1–3), 253–259. doi:10.1016/j.psychres.2005.12.011
Polit, D. F. (2010). Statistics and data analysis for nursing research (2nd ed.). Boston, MA: Pearson.
Sanli, Y., & Oncel, S. (2014). Evaluation of the functional status of women after their delivery of child factors affecting it. Journal of Turkish Society of Obstetrics and Gynecology, 11, 195–204. doi:10.5505/tjod.2014.82574
Shen, D., Hasegawa-Moriyama, M., Ishida, K., Fuseya, S., Tanaka, S., & Kawamata, M. (2020). Acute postoperative pain is correlated with the early onset of postpartum depression after cesarean section: A retrospective cohort study. Journal of Anesthesia, 34(4), 607–612. doi:10.1007/s00540-020-02789-5
Vézina, M. (2018). Lit de feu et la dépression post-partum chez les femmes lao (Master’s thesis). Québec, Canada: Université Laval.
Xu, H., Ding, Y., Ma, Y., Xin, X., & Zhang, D. (2017). Cesarean section and risk of postpartum depression: A meta-analysis. Journal of Psychosomatic Research, 97, 118–126. doi:10.1016/j.jpsychores.2017.04.016
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
หมวดหมู่
License
Copyright (c) 2023 วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อความ ข้อมูล และรายการอ้างอิงที่ผู้เขียนใช้ในการเขียนบทความเพื่อลงตีพิมพ์ในวารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี ถือเป็นความคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียน คณะผู้จัดทำวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วยหรือร่วมรับผิดชอบ
บทความที่ได้รับการลงตีพิมพ์ในวารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี หากหน่วยงานหรือบุคคลใดต้องการนำส่วนหนึ่งหรือทั้งหมดของบทความไปเผยแพร่ต่อเพื่อวัตถุประสงค์ใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตจากบรรณาธิการวารสารก่อน