Clinical Teaching Management for Nursing Students in Thailand 4.0 Era
Keywords:
Learning, Nursing student, Thailand 4.0Abstract
Clinical teaching management can develop skills related to Thailand 4.0 era among nursing students because they can learn and practice in authentic situations under the close supervision of their teachers. In addition, they can use technology and information to solve nursing problems of their clients. All of which stimulate the problem-solving skills and encourage creating innovation to develop good services for the students. There are various clinical teaching methods, including 1) small group discussion, 2) concept mapping, 3) case-based learning, 4) nursing conference, 5) reflective thinking, and 6) multimedia using. Each method has different success factors. These teaching methods and success factors will help nursing students to gain the skills related to Thailand 4.0 era, including analytic thinking, critical thinking, synthesized innovation, creative thinking, problem solving, technology using, interpersonal relationship, language and art, and public responsibility.
References
กรรณิกา วิชัยเนตร. (2557). การสะท้อนคิด: การสอนเพื่อให้นักศึกษาพยาบาลพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณในการฝึกปฏิบัติการพยาบาล. วารสารพยาบาลตำรวจ, 6(2), 188-199.
คณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2561). ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561-2580. กรุงเทพฯ: ผู้แต่ง.
ถนอมพร เลาหจรัสแสง. (2558). อาจารย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กับการจัดการเรียนรู้แบบใหม่ในศตวรรษที่ 21. ใน สำนักพัฒนาคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, คู่มืออาจารย์ด้านการสอน (น. 1-12). ม.ป.ท.
ทวีศักดิ์ จินดานุรักษ์. (2560). ครูและนักเรียนในยุคการศึกษาไทย 4.0. วารสารอิเล็กทรอนิกส์การเรียนรู้ทางไกลเชิงนวัตกรรม, 7(2), 14-29.
ทิศนา แขมมณี. (2557). 14 วิธีสอนสำหรับครูมืออาชีพ (พิมพ์ครั้งที่ 12). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นิกร จันภิลม, ศตพล กัลยา, ภาสกร เรืองรอง, และรุจโรจน์ แก้วอุไร. (2562). เทคโนโลยีการศึกษาในยุค Thailand 4.0. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 11(1), 304-314.
พัชรี วรกิจพูนผล. (2558). การเรียนรู้โดยใช้กรณีศึกษา (Case based learning). ใน สำนักพัฒนาคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, คู่มืออาจารย์ด้านการสอน (น. 49-55). ม.ป.ท.
พาสนา จุลรัตน์. (2561). การจัดการเรียนรู้สำหรับผู้เรียนในยุค Thailand 4.0. Veridian E-Journal Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ, 11(2), 2363-2380.
พิริยลักษณ์ ศิริศุภลักษณ์. (2556). การสอนนักศึกษาพยาบาลเพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครราชสีมา, 19(2), 5-19.
มนัสวี ศรีนนท์. (2561). ทฤษฎีเจเนอเรชันกับกรอบวิธีคิด. วารสาร “ศึกษาศาสตร์ มมร”, 6(1), 364-373.
วิจิตรา กุสุมภ์, และอรุณี เฮงยศมาก. (2562). ผลของการเรียนรู้โดยใช้กรณีศึกษาเป็นฐานต่อความคงทนในการเรียนรู้ของนักศึกษาพยาบาล. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี, 8(1), 187-196.
วิทวัส ดวงภุมเมศ, และวารีรัตน์ แก้วอุไร. (2560). การจัดการเรียนรู้ในยุคไทยแลนด์ 4.0 ด้วยการเรียนรู้อย่างกระตือรือร้น. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 11(2), 1-14.
สุนันท์ สีพาย, และไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2561). เปลี่ยนผ่านการศึกษาไทยสู่ การศึกษา 4.0. วารสารการวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 24(2), 13-27.
Adibelli, D., & Boyaci, B. (2018). The views of nurses related to innovative practices in clinical teaching. International Journal of Caring Sciences, 11(2), 734-742.
Chicca, J., & Shellenbarger, T. (2019). A new generation of nurses is here: Strategies for working with generation Z. American Nurse Today, 14(2), 48-50.
Puncreobutr, V. (2016). Education 4.0: New challenge of learning. St. Theresa Journal of Humanities and Social Sciences, 2(2), 92-97.
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
เนื้อความ ข้อมูล และรายการอ้างอิงที่ผู้เขียนใช้ในการเขียนบทความเพื่อลงตีพิมพ์ในวารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี ถือเป็นความคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียน คณะผู้จัดทำวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วยหรือร่วมรับผิดชอบ
บทความที่ได้รับการลงตีพิมพ์ในวารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี หากหน่วยงานหรือบุคคลใดต้องการนำส่วนหนึ่งหรือทั้งหมดของบทความไปเผยแพร่ต่อเพื่อวัตถุประสงค์ใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตจากบรรณาธิการวารสารก่อน