The Effect of the Stroke Warning Signs Program on Stroke’s Awareness, Knowledge, and Practice to Decrease the Stroke Risk in Hypertensive Patients
Keywords:
Awareness, Knowledge, Practice, Stroke risk, Hypertensive patientAbstract
This quasi-experimental research aimed to examine the effect of the stroke warning signs program on stroke’s awareness, knowledge, and practice to decrease the stroke risk in hypertensive patients. The samples consisted of 26 hypertensive patients receiving services at a subdistrict health promoting hospital in Saraburi Province. The research instruments were composed of the stroke warning signs program, a demographic questionnaire, a stroke awareness questionnaire with the reliability of .71, a stroke knowledge questionnaire with the reliability of .95, and a stroke practice questionnaire with the reliability of .87. The implementation and data collection were conducted from December, 2017 to March, 2018. Data were analyzed using frequency, percentage, mean, standard deviation, and Wilcoxon signed-rank test.
The research results revealed that after using the stroke warning signs program, the hypertensive patients had statistically significant higher mean scores of stroke’s awareness, knowledge, and practice to decrease the stroke risk than before using the program (Z = 3.099, p < .01; Z = 4.346, p < .001 and Z = 3.769, p < .001, respectively).
This research suggests that health care providers should apply the stroke warning signs program for caring hypertensive patients in order to decrease the stroke risk in a long period.
References
กระทรวงสาธารณสุข. (2561). รายงานตามตัวชี้วัดในระดับ NCD Clinic Plus ปี 2561: อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนและมารับการรักษาในเขตพื้นที่รับผิดชอบจังหวัดสระบุรี ปีงบประมาณ 2561. สืบค้นจาก https://hdcservice.moph.go.th/hdc/reports/report_kpi.php?flag_kpi_level=9&flag_kpi_year=2018&source=pformated/format1.php&id=6d0c58de6b948dd0eac3c736c7584b59
กฤษณา พิรเวช. (2552). การฟื้นฟูผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะเฉียบพลัน. ใน นิจศรี ชาญณรงค์ (สุวรรณเวลา). (บ.ก.), การดูแลรักษาภาวะสมองขาดเลือดในระยะเฉียบพลัน (น. 205-225). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
กษมา เชียงทอง. (2554). ความสัมพันธ์ระหว่างแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ การรับรู้อาการเตือน และพฤติกรรมการจัดการโรคหลอดเลือดสมอง ในกลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
คณะทำงานจัดทำรายงานประจำปี สำนักโรคไม่ติดต่อ. (2560). รายงานประจำปี สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 2560. กรุงเทพฯ: อักษรกราฟฟิค แอนด์ ดีไซน์.
เครือข่ายวิจัยกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย. (2558). รายงานการประเมินผลการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และความดันโลหิตสูง ของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขและโรงพยาบาลในสังกัดกรุงเทพมหานคร ประจำปี 2558. สืบค้นจาก https://dmht.thaimedresnet.org/files_2558/57DMHT_2014_ALL_Ontour.pdf
จักรพันธ์ ชัยพรหมประสิทธิ์. (2550). โรคความดันโลหิตสูง. ใน วิทยา ศรีดามา (บ.ก.), ตำราอายุรศาสตร์ 4 (น. 176-201). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
จันทร์จิรา สีสว่าง, และนงณภัทร รุ่งเนย. (2559). การพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง: กลยุทธ์สู่การดูแลแบบผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง. วารสารพยาบาลศาสตร์, 34(3), 10-18.
ชลธิรา กาวไธสง. (2555). ผลของโปรแกรมพัฒนาพฤติกรรมเพื่อป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลชุมพวง อำเภอชุมพวง จังหวัดนครราชสีมา (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ช่อผกา สุทธิพงศ์, และศิริอร สินธุ. (2555). ปัจจัยทำนายภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุภายหลังเป็นโรคหลอดเลือดสมองในเขตชุมชนเมือง. วารสารพยาบาลศาสตร์, 30(1), 28-39.
นิตยา พันธุเวทย์, และลินดา จำปาแก้ว. (2558). ประเด็นสารรณรงค์วันอัมพาตโลก ปี พ.ศ. 2557. นนทบุรี: กระทรวงสาธารณสุข.
นิ่มนวล ชูยิ่งสกุลทิพย์, อรุณี ชาญชัย, ปิ่นนเรศ กาศอุดม, และคณิสร แก้วแดง. (2559). คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบตันหรืออุดตันที่เข้ารับการรักษาในหน่วยโรคหลอดเลือดสมอง โรงพยาบาลระยอง. วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี, 27(2), 54-64.
พรสวรรค์ คำทิพย์, และชนกพร จิตปัญญา. (2557). ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ ความเชื่อ และความตระหนักรู้ด้านพฤติกรรมการปฏิบัติตัวของผู้ป่วยอายุน้อยที่เสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมอง. วารสารพยาบาลตำรวจ, 6(2), 44-55.
รายงานการตรวจราชการเขต 4. (2562). สืบค้นจาก https://rh4.moph.go.th
วรวุฒิ พัฒนโภครัตนา. (2558). ผลของโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลเกาะพะงัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี. วารสารวิชาการแพทย์เขต 11, 29(1), 145-153.
วรารัตน์ ทิพย์รัตน์, โสภิต สุวรรณเวลา, และวราณี สัมฤทธิ์. (2560). ผลของโปรแกรมการสร้างความตระหนักรู้ต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดลือดสมองของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงในเขต อ.เมือง จ.ตรัง. วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้, 4(2), 94-107.
วิชัย เทียนถาวร. (2556). ระบบการเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ในประเทศไทย: นโยบาย สู่ การปฏิบัติ (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
วิยะการ แสงหัวช้าง. (2556ก). ประสิทธิผลของโปรแกรมการให้ความรู้โดยใช้กระบวนการกลุ่มต่อความรู้และพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยง ตําบลต้นตาล อําเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี (รายงานผลการวิจัย). วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สระบุรี.
วิยะการ แสงหัวช้าง. (2556ข). ผลของการให้ความรู้โดยใช้กระบวนการกลุ่มและการติดตามทางโทรศัพท์ต่อความรู้และพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในผู้สูงอายุเจ็บป่วยเรื้อรัง. วารสารศูนย์การศึกษาแพทยศาสตร์คลินิก โรงพยาบาลพระปกเกล้า, 30(4), 260-273.
สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ. (2560). รายงานภาระโรคและการบาดเจ็บของประชากรไทย พ.ศ. 2557. นนทบุรี: เดอะ กราฟิโก ซิสเต็มส์.
สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข. (2556). สถิติสาธารณสุข 2556. สืบค้นจาก https://planning.anamai.moph.go.th/download/D_DataMarts/Stat/health_statistics_2556.pdf
สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค. (2561). ประเด็นสารรณรงค์วันความดันโลหิตสูงโลก ปี 2561. สืบค้นจาก https://www.thaincd.com/document/file/info/non-communicable/ประเด็นสารวันความดันโลหิตสูง_61.pdf
อุมาพร แซ่กอ, และชนกพร จิตปัญญา. (2557). การศึกษาความตระหนักรู้เกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมองของผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, 6(2), 13-23.
Bartz, A. E. (1999). Basic statistical concepts (4th ed.). Upper Saddle River, NJ: Prentice-Hall.
Boer, H., & Seydel, E. R. (1998). Protection motivation theory. In M. Corner & P. Norman (Eds.), Predicting health behavior (pp. 95-120). Philadelphia: Open University Press.
Raju, R. S., Sarma, P. S., & Pandian, J. D. (2010). Psychosocial problems, quality of life, and functional independence among Indian stroke survivors. Stroke, 41(12), 2932-2937.
Rogers, R. W. (1983). Protection motivation theory. Health Education Research Theory and Practice, 7(1), 153-161.
Satink, T., Cup, E. H., Ilott, I., Prins, J., de Swart, B. J., & Nijhuis-van der Sanden, M. W. (2013). Patients’ views on the impact of stroke on their roles and self: A thematic synthesis of qualitative studies. Archives of Physical Medicine and Rehabilitation, 94(6), 1171-1183.
World Health Organization. (2013). A global brief on hypertension: Silent killer, global public health crisis. Retrieved from https://apps.who.int/iris/bitstream/handle/10665/79059/WHO_DCO_WHD_2013.2_eng.pdf;jsessionid=D8A5665CBA1225231798D8D48D7B0417?sequence=1
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
Copyright (c) 2019 JOURNAL OF PHRAPOKKLAO NURSING COLLEGE
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อความ ข้อมูล และรายการอ้างอิงที่ผู้เขียนใช้ในการเขียนบทความเพื่อลงตีพิมพ์ในวารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี ถือเป็นความคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียน คณะผู้จัดทำวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วยหรือร่วมรับผิดชอบ
บทความที่ได้รับการลงตีพิมพ์ในวารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี หากหน่วยงานหรือบุคคลใดต้องการนำส่วนหนึ่งหรือทั้งหมดของบทความไปเผยแพร่ต่อเพื่อวัตถุประสงค์ใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตจากบรรณาธิการวารสารก่อน