การประยุกต์ใช้ทฤษฎีสัมพันธภาพระหว่างบุคคลในทักษะชีวิต: กรณีศึกษาวัยรุ่นที่มีภาวะซึมเศร้า
Main Article Content
บทคัดย่อ
ผู้ป่วยวัยรุ่นที่มีภาวะซึมเศร้าควรได้รับการเสริมสร้างทักษะชีวิต บทความวิชาการนี้ มีวัตถุประสงค์นำเสนอกิจกรรมการเสริมสร้างทักษะชีวิตที่ต้องร่วมมือกันระหว่างกันระหว่างพยาบาลและผู้รับบริการที่มีภาวะซึมเศร้า พยาบาลต้องใช้ความเข้าใจ และนำแนวคิดกระบวนการพยาบาลตามทฤษฎีสัมพันธภาพระหว่างบุคคล (Peplau, 1991) 4 ขั้นตอน ได้แก่ 1) ระยะเริ่มต้น 2) ระบุปัญหา 3) ดำเนินการแก้ปัญหา และ 4) สิ้นสุดสัมพันธภาพ กระบวนการพยาบาลตามทฤษฎีนี้ สามารถพัฒนาทักษะชีวิตให้สอดคล้องตามบริบทสถานการณ์ของผู้ที่มีภาวะซึมเศร้า ตั้งแต่การสร้างความสัมพันธ์ที่ดี การตัดสินใจแก้ปัญหา และการจัดการกับความเครียด ซึ่งเป็นการป้องกันอันตรายจากภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด
Downloads
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลที่เผยแพร่ในวารสารวิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้นิพนธ์บทความโดยตรง บทความ เนื้อหา ข้อมูล รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการเผยแพร่ในวารสารนี้ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารฯ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่หรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องอ้างอิงวิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี ทุกครั้ง
References
จุฑามาศ ทองประดับ, ทัศนา ทวีคูณ, และ ชรินทร์ นินทจันทร์. (2562). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะติดเฟซบุ๊กกับความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองและภาวะซึมเศร้าในนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย. วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย, 12(2), 117-133.
ดวงใจ วัฒนสินธุ์, สิริพิมพ์ ชูปาน, ภรภัทร เฮงอุดมทรัพย์, ศิริวัลห์ วัฒนสินธุ์, และ รัศมิ์สุนันท์ จันทรภักดี. (2563). ผลของโปรแกรมการเสริมสร้างทักษะการแก้ปัญหาทางสังคมต่อภาวะซึมเศร้าของนักศึกษาพยาบาล. วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, 34(1), 86-102.
ถิรนันท์ ผิวผา, นุชนาถ บรรทุมพร, และ สารรัตน์ วุฒิอาภา. (2561). ผลของโปรแกรมการฝึกทักษะชีวิตต่อภาวะซึมเศร้าในนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย. วารสารพยาบาลทหารบก, 19(ฉบับพิเศษ), 89-98.
ทัชชา สุริโย, อมราพร สุรการ, และ อัจศรา ประเสริฐสิน. (2559). การพัฒนาโปรแกรมการให้คำปรึกษากลุ่มเพื่อเสริมสร้างความฉลาดทางสังคม สำหรับวัยรุ่นกลุ่มเสี่ยงต่อภาวะซึมเศร้า. วารสารวิชาการ Veridian E –Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ, 9(1), 582-597.
ธนพล บรรดาศักดิ์, เสาวลักษณ์ ตันติสุวิชวงษ์, นฤมล จันทรเกษม, บุญสืบ โสโสม, วรรณา ชัยชนะรุ่งเรือง, และ สุพรรษา ขวัญสมคิด. (2565). ผลของโปรแกรมการเสริมสร้างทักษะชีวิตต่อภาวะสุขภาพจิตของนักศึกษาพยาบาล. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, 14(2), 77-94.
ใบเรียม เงางาม, และ เพ็ญพักตร์ อุทิศ. (2558). ผลของโปรแกรมการจัดการกับอารมณ์ต่อภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นตอนต้นที่มีปัญหาพฤติกรรม. วารสารสารพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, 29(2), 116-127.
ประยูรศรี ศรีจันทร์, พวงเพชร เกษรสมุทร, และ วารีรัตน์ ถาน้อย. (2563). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าของวัยรุ่นในสถานสงเคราะห์. วารสารพยาบาลศาสตร์, 38(1), 86-98.
ปราณี บุญญา, วงพักตร์ ภู่พันธ์ศรี, บุญเลิศ ไพรินทร์, และ สุวิมล อังควานิช. (2556). ผลของการฝึกทักษะชีวิตที่มีต่อการปรับตัวและการเห็นคุณค่าในตนเองของนักศึกษามหาวิทยาลัยรังสิต. วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, 27(2), 30-42.
โปรยทิพย์ สันตะพันธุ์, ศิริญพร บุสหงส์, และ เชาวลิต ศรีเสริม. (2562). ภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่น: บทบาทพยาบาล. วารสารเกื้อการุณย์, 26(1), 187-199.
วิมลวรรณ ปัญญาว่อง, รัตนศักดิ์ สันติธาดากุล, และ โชษิตา ภาวสุทธิไพศิฐ. (2563). ความชุกของภาวะซึมเศร้าและความเสี่ยงฆ่าตัวตายในวัยรุ่นไทย: การสำรวจโรงเรียนใน 13 เขตสุขภาพ. วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย, 28(2), 136-149.
ศุภชัย ตู้กลาง, อรพรรณ ทองแดง, ธีรศักด์ สาตรา, และ สุชีรา ภัทรายุตวรรตน์. (2555). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะซึมเศร้าของนักเรียนวัยรุ่นตอนต้นในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา จังหวัดสมุทรสาคร. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย, 57(3), 283-294.
สถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นราชนครินทร์. (2019). แบบประเมินซึมเศร้าสำหรับวัยรุ่น (CES-D). https://new.camri.go.th
สุกัญญา สุรังษี, ลัดดา เหลืองรัตนมาศ, และ สรวงทิพย์ ภู่กฤษณา. (2562). การพัฒนาโปรแกรมการฝึกทักษะชีวิตเพื่อเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิตสำหรับนักศึกษาพยาบาล. วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข, 29(3), 194-204.
สุตาภัทร ประดับแก้ว, และ รุ่งระวี สมะวรรธนะ. (2558). ผลของโปรแกรมทักษะชีวิตที่มีต่อความสามารถในการจัดการอารมณ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา, 10(2), 308-321.
สุนันท์ เสียงเสนาะ, ดวงใจ วัฒนสินธุ์, ภรภัทร เฮงอุดมทรัพย์, และ เวทิส ประทุมศรี. (2560). อิทธิพลของปัจจัยด้านสัมพันธภาพระหว่างบุคคลต่อภาวะซึมเศร้าของวัยรุ่นตอนปลาย. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี กรุงเทพ, 33(3), 59-69.
โสภิณ แสงอ่อน, พัชรินทร์ นินทจันทร์, และ จุฑาทิพย์ กิ่งแก้ว. (2561). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นด้อยโอกาสไทยในจังหวัดหนึ่งในภาคกลาง. วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, 32(2), 13-38.
อุทุมพร (ทองอุทัย) จามรมาน. (2531). การสังเคราะห์งานวิจัย: เชิงปริมาณเน้นวิธีวิเคราะห์เมตต้า. ฟันนี่พับบลิชชิ่ง.
Mami, S., & Hemmati, A. (2014). Effect of life skills on assertiveness, interpersonal relations and self-esteem of indistinct boys. Advances in Environmental Biology, 442-447. https://link.gale.com/apps/doc/A392176561/AONE?u=anon~ba779aed&sid=googleScholar&xid=18353d28
Peplau, H. E. (1991). Phases of nurse-patient relationships. In Interpersonal relations in nursing: A Conceptual frame of reference for psychodynamic nursing (pp. 17-42). Springer.
World Health Organization. (2009). Preventing violence by developing life skills in children and adolescents. World Health Organization. http://www.who.int/violenceprevention/publications/en/index.html
World Health Organization. (2020). Adolescent mental health. https://www.who.int/news-room/fact-sheets/detail/adolescent-mental-health