การวิจัยและพัฒนา: นวัตกรรมทางการศึกษาพยาบาลแห่งยุคการเปลี่ยนแปลง
Main Article Content
บทคัดย่อ
การเปลี่ยนแปลงของโลกที่ผันผวนส่งผลต่อการศึกษาทางการพยาบาลที่ต้องมีการปรับตัวเพื่อผลิตบัณฑิตที่ตอบสนองต่อความต้องการของสังคม ทักษะวิชาชีพ เป็นสมรรถนะหลักและทักษะทางสังคมและการดำรงชีวิตเป็นสมรรถนะที่สำคัญของยุคการเปลี่ยนแปลงที่ผู้เรียนจำเป็นต้องได้รับการพัฒนาเพื่อสามารถปรับตัวดำรงชีวิตในสังคมของการเปลี่ยนแปลงได้
การวิจัยและพัฒนาเป็นเครื่องมือสำคัญที่จะสร้างนวัตกรรมทางการเรียนรู้ รูปแบบการเรียนการสอนที่สามารถพัฒนาทักษะของผู้เรียนตามแนวทางพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 บทความนี้ต้องการนำเสนอการเปลี่ยนแปลงของการจัดการศึกษาทางการพยาบาลเพื่อตอบสนองต่อความต้องการของสังคม โดยการนำขั้นตอนการวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างนวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนรูปแบบใหม่ที่พัฒนาผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
Downloads
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลที่เผยแพร่ในวารสารวิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้นิพนธ์บทความโดยตรง บทความ เนื้อหา ข้อมูล รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการเผยแพร่ในวารสารนี้ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารฯ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่หรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องอ้างอิงวิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี ทุกครั้ง
References
กาญจนา ศรีสวัสดิ์. (2561). ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต. วารสารเครือข่ายส่งเสริมการวิจัยทางมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 1(3), 38-44.
เฌอร์นินทร์ ตั้งปฐมวงศ์, นุชนาถ บุญมาศ ,สุจิมา ติลการยทรัพย์, จีระวรรณ ศรีจันทร์ไชย, กานต์รวี โบราณมูล, และวสันต์ สีแดน. (2561). ผลของโปรแกรมการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิจัยเป็นฐานต่อทักษะทางปัญญาของนักศึกษาพยาบาล. วารสารพยาบาลทหารบก, 19(พิเศษ), 259-266.
นภดล เลือดนักรบ, สุภาณี เส็งศรี, และเทิดศักดิ์ ผลจันทร์. (2561). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน โดยจัดการเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลง เพื่อส่งเสริมความสามารถด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักศึกษาพยาบาล. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุตรดิตถ์, 10(2), 209-221.
นิสากร วิบูลชัย, นฤมล เอนกวิทย์, อนุชา ไทยวงษ์, มลฤดี แสนจันทร์, และกัญญาพัชร บัณฑิตถาวร.(2563). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนในคลินิก โดยใช้วิจัยเป็นฐานเพื่อส่งเสริมความสามารถในการสร้างสรรค์นวัตกรรมทางการพยาบาล สำหรับนักศึกษาพยาบาล. วารสารการพยาบาลและการศึกษา, 13(2), 77-92.
เบญญาภา พรมพุก, นภา ทองกิจ, สายชล จันทร์วิจิตร, และเสน่ห์ ขุนแก้ว. (2563). ผลของการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ต่อทักษะทางปัญญาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาพยาบาลในเรื่องรูปแบบการปรับตัวของรอย. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุตรดิตถ์, 12(1), 92-106.
ประกาศสภาการพยาบาล เรื่อง มาตรฐานการพยาบาล พ.ศ.2562. (2562, 18 เมษายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 136 ตอนพิเศษ 79 ง. หน้า 30-36.
เปศล ชอบผล, งามนิตย์ รัตนานุกูล, นฤมล พรหมภิบาล, จิตรลดา สมประเสริฐ, และนิติบดี ศุขเจริญ. (2563). การจัดการความรู้พยาบาลศาสตร์ด้วยเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริมและห้องเรียนเสมือนจริง. วารสารเกษมบัณฑิต, 21(2), 193-210.
มาเรียม นิลพันธุ์. (2558). วิธีวิจัยทางการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 9). นครปฐม: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ละมัด เลิศล้ำ, ชนิดา ธนสารสุธี, สุภาเพ็ญ ปานะวัฒนพิสุทธิ์, และชัชรีย์ บำรุงศรี. (2562). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนด้วยสถานการณ์จำลองเสมือนจริง. วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและสาธารณสุขภาคใต้, 6(พิเศษ), 43-58.
ลัดดาวัลย์ ไวยสุระสิงห์, และสุภาวดี นพรุจจินดา. (2554). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดการเรียนรู้ตามสภาพจริงเพื่อเสริมสร้างผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักศึกษาพยาบาลวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุพรรณบุรี. วารสารการพยาบาลและการศึกษา, 4(3), 63-77.
วณิชา พึ่งชมภู, และศิริรัตน์ ปานอุทัย. (2557). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนด้วย E-Learning สำหรับนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ในกระบวนวิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ. พยาบาลสาร, 41(1), 11-25.
วัฒนาพร ระงับทุกข์. (2563). สมรรถนะเด็กไทยในยุคโลกพลิกผัน (VUCA World). คุรุสภาวิทยาจารย์, 1(1), 8-18.
วิจารณ์ พานิช. (2558). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ ในศตวรรษที่ 21. วารสารนวัตกรรมการเรียนรู้, 1(2), 1-14.
วิชัย วงษ์ใหญ่, และมารุต พัฒผล. (2562ก). การเรียนรู้ในโลก VUCA สู่ Social Quotient. กรุงเทพฯ: ศูนย์ผู้นำนวัตกรรมหลักสูตรและการเรียนรู้.
วิชัย วงษ์ใหญ่, และมารุต พัฒผล. (2562ข). การโค้ชเพื่อพัฒนาศักยภาพผู้เรียน. กรุงเทพฯ: จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์.
ศุภลักษณ์ ธนาโรจน์, วีรวรรณ เกิดทอง, และวรรณดี เสือมาก (2562) การพัฒนาชุดการสอน เรื่อง การทำงานเป็นทีมการพยาบาล โดยใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริง สำหรับนักศึกษาพยาบาลศาสตร์บัณฑิต. วารสารวิจัยและนวตกรรมทางสุขภาพ, 2(1), 58-72.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี. (2559). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560-2564. สืบค้นจาก https://www.royalthaipolice.go.th/downloads/plan12.pdf.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.
สุนทรีภรณ์ ทองไสย. (2559). พยาบาลกับการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์. วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี, 27(1), 112-119.
อภิชาติ อนุกูลเวช, สมสรร วงษ์อยู่น้อย, สุรชัย สิกขาบัณฑิต, สมชาย ฉัตรรัตนา, และไพฑูรย์ โพธิสาร. (2551). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนฝึกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต สำหรับนักเรียนอาชีวศึกษา. วารสารวิชาการศึกษาศาสตร์ ศรีนครินทรวิโรฒ, 9(2), 1-14.
อัญชลี แก้วสระศรี, รัตนา นิลเลื่อม, และชุลีพร หีตอักษร. (2560). การเปลี่ยนแปลงของสังคมและวัฒนธรรมไทยกับแนวโน้มวิชาชีพการพยาบาล. วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์, 37(3), 160-169.
Basak, T., Aciksoz, S., Unver, V., & Aslan, O. (2019). Using standardized patients to improve the hygiene care skills of first-year nursing students. Collegian, 26, 49-54.
Facione, P. A. (2011). Critical thinking: What it is and why it counts. Insight Assessment, 2007(1), 1-23.